fbpx

Life & Culture

14 Dec 2022

จาก ‘เราพูดอะไรได้บ้าง’ ถึง ‘เราได้ยินอะไรบ้าง’: เมื่ออัลกอริทึมกำลังเปลี่ยนวิธีคิดเรื่องฟรีสปีช

อัครพัชร์ เจริญพานิช เขียนถึงเบื้องหลังอัลกอริทึมของเฟซบุ๊ก ที่ชวนให้เรากลับไปตั้งคำถามต่อ ‘ฟรีสปีช’ ในสังคมออนไลน์ ไปจนถึงว่าสิ่งที่เราพูดไปแล้ว ‘อะไรบ้างที่จะถูกได้ยิน’ และ ‘ใครบ้างที่จะได้ยินสิ่งนั้น’

อัครพัชร์ เจริญพานิช

14 Dec 2022

Life & Culture

14 Dec 2022

สเปน-โมร็อกโก: คู่ปรับข้ามทวีปบนความขัดแย้งแห่งประวัติศาสตร์

คอลัมน์ The Rivalry เดือนนี้ สมศักดิ์พาไปท่องประวัติศาสตร์ความขัดแย้งระหว่างโมร็อกโก-สเปน ประเทศต่างทวีปที่ห่างกันแค่ช่องแคบยิบรอลตาร์กั้น

สมศักดิ์ จันทวิชชประภา

14 Dec 2022

Asean

13 Dec 2022

การเมืองอัตลักษณ์-Hate Speech กับการร่วมหอ PH–BN หลังเลือกตั้งมาเลเซีย

ปรางค์ทิพย์ ดาวเรือง มองผลเลือกตั้งมาเลเซียซึ่งสะท้อนภาพความแตกแยกทางเชื้อชาติศาสนาที่รุนแรงขึ้น อันเป็นความท้าทายต่อรัฐบาลอันวาร์ อิบราฮิม

ปรางค์ทิพย์ ดาวเรือง

13 Dec 2022

101 POSTSCRIPT คุยข่าวนอกสคริปต์

24 Nov 2022

101 POSTSCRIPT คุยข่าวนอกสคริปต์ กับ วิสุทธิ์ คมวัชรพงศ์ EP.56 : รวมใครสร้างตู่?

สัญญาณการย้ายเข้าพรรครวมไทยสร้างชาติของพลเอกประยุทธ์ชัดเจนมากขึ้น เหล่านักการเมืองอาชีพก็เตรียมขยับ ไฮไลท์สำคัญอยู่ที่การเมืองในพรรคพลังประชารัฐ เพราะบรรดา ส.ส. ต้องตัดสินใจว่าจะตามพลเอกประยุทธ์ออกไปหรือฝากชีวิตไว้กับพี่ใหญ่-พลเอกประวิตร

กองบรรณาธิการ

24 Nov 2022

World

18 Nov 2022

เลือกตั้งกลางเทอมสหรัฐฯ 2022 – จากการเมืองอเมริกาถึงเศรษฐกิจการเมืองโลก

อะไรคือประเด็นที่น่าสนใจจากการเลือกตั้งกลางเทอมสหรัฐฯ ที่ผ่านมา ดุลอำนาจการเมืองในสหรัฐฯ รวมไปถึงทิศทางการเมืองโลกจะเป็นอย่างไร ชวนหาคำตอบจากสามผู้เชี่ยวชาญที่ติดตามการเมืองอเมริกาอย่างใกล้ชิดผ่านการวิเคราะห์และความเห็นของ ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ, สิริพรรณ นกสวน สวัสดี และ ปกป้อง จันวิทย์

กองบรรณาธิการ

18 Nov 2022

Kid For Kids

7 Nov 2022

“กลับบ้านใช่มีความสุข” ความเปราะบางทับซ้อนของครอบครัวไทยในช่วงโควิด-19

101 สรุปเนื้อหาจาก Research Roundup 2022 หัวข้อ ‘พลวัตครอบครัวในสังคมไทยในสถานการณ์โควิด–19 : การปรับตัวของครัวเรือนเปราะบาง และข้อเสนอเชิงนโยบายด้านเด็กและครอบครัว’

กรกมล ศรีวัฒน์

7 Nov 2022

Politics

25 Oct 2022

การหลุดลอยของวงเล็บ ‘(รีปับลิก)’ ท้ายคำว่า ‘ประชาธิปตัย’ หลังการปฏิวัติ 2475

ว่าด้วยความหมายของคำว่า ‘รีปับลิก’ ตั้งแต่ก่อนและหลัง 2475 เมื่อประเทศไทยเคยมี ‘ประชาธิปตัย (รีปับลิก)’ แล้วตอนนี้หายไปไหน หายอย่างไร

อิทธิเดช พระเพ็ชร

25 Oct 2022

Kid For Kids

24 Oct 2022

นโยบายเด็กและครอบครัว : ทีเด็ดที่จะทำให้สังคมไทย ‘ชนะ’ ได้ในโลกอนาคต

สรุป Research Roundup 2022 หัวข้อ นโยบายเด็กและครอบครัวแห่งอนาคต : ขยายพื้นที่ปฏิรูปนโยบายสาธารณะเพื่ออนาคตของเด็กไทย โดยคิด for คิดส์

กองบรรณาธิการ

24 Oct 2022

Social Problems

19 Oct 2022

มายาการแห่งอัตลักษณ์: ความหลงผิดว่าด้วยอัตลักษณ์กับการแยกขั้วแยกข้างในสังคม

ชญานิษฐ์ พูลยรัตน์ อธิบายถึง ‘มายาการแห่งอัตลักษณ์’ ซึ่งทำให้คนหลงในอัตลักษณ์ตนเอง และแบ่งแยกคนอื่น จนนำไปสู่ความขัดแย้งร้าวลึกในสังคม

ชญานิษฐ์ พูลยรัตน์

19 Oct 2022

Social Problems

18 Oct 2022

เมื่อ ‘สังหารหมู่’ เป็นรูปแบบหนึ่งของการฆ่าตัวตาย .. และ ‘ฆ่าตัวตาย’ กำลังเป็นโรคระบาดในสังคมไทย กับ เดชา ปิยะวัฒน์กูล

สถาพร พงษ์พิพัฒน์วัฒนา คุยกับ นพ. เดชา ปิยะวัฒน์กูล มองเหตุสังหารหมู่หนองบัวลำภู อันสะท้อนถึงการระบาดของการฆ่าตัวตาย และอำนาจนิยมในงานราชการ

สถาพร พงษ์พิพัฒน์วัฒนา

18 Oct 2022

Politics

11 Oct 2022

‘วิสามัญมรณะ’: การตายในชีวิตประจำวันของสามัญชนด้วยน้ำมือรัฐ

สมชาย ปรีชาศิลปกุล ชวนทำความรู้จัก ‘วิสามัญมรณะ’ อันหมายถึงการเสียชีวิตของบุคคล โดยที่เจ้าหน้าที่รัฐเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องอยู่ในฐานะต่างๆ

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

11 Oct 2022

World

11 Oct 2022

ว่าด้วยการเป็นประธานเอเปกของไทย: ในยุคสมัยที่วิสัยทัศน์ด้านการต่างประเทศพร่ามัว

สุภลักษณ์วิเคราะห์การเป็นเจ้าภาพเอเปกของไทย ที่ประเทศไทยอาจไม่ได้รับประโยชน์จากการเป็นเจ้าภาพ แต่เป็นเพียงการฉวยใช้การประชุมของผู้นำระดับโลกเพื่อประโยชน์ทางการเมืองเท่านั้น

สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี

11 Oct 2022
1 2 3 4 21

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save