fbpx

POETIC

23 Aug 2018

บทกวีของหลิวเสี่ยวโป

จากอุดมการณ์แห่งเทียนอันเหมิน ถึงหญิงสาวผู้เป็นที่รัก บทกวีหลิวเสี่ยวโปบอกอะไรกับเรา Poetic ขอชวนอ่านเรื่องราวของกวีจีนผู้มีวลีประจำใจว่า ‘ไม่เกลียดใคร ไม่มีศัตรู’ พิเศษสุดด้วยบทกวีของหลิวเซีย กวีสาวคู่ชีวิตหลิวเสี่ยวโป ผู้สง่างามไม่แพ้ชายที่เธอรัก

ชลธร วงศ์รัศมี

23 Aug 2018

POETIC

20 Jul 2018

Louder Than a Bomb ระเบิดบทกวี

การแข่งขันร่ายบทกวีระดับมัธยมที่ใหญ่ที่สุดในโลกระเบิดสิ่งใดออกมาบ้าง ความหวัง พลังคนหนุ่มสาว การตีแผ่ปัญหาของเมือง ฯลฯ Poetic สัปดาห์นี้ชวนสำรวจการการแข่งขันที่ชนะได้ด้วยความลึกซึ้ง-สัตย์ซื่อ ของหัวใจ มากกว่าความแข็งแกร่งทางร่างกายหรือทักษะใดๆ ทั้งสิ้น

ชลธร วงศ์รัศมี

20 Jul 2018

POETIC

9 Jun 2018

เบื้องหลังบทกวีของ เกษียร เตชะพีระ

ชวนสนทนาเรื่องบทกวีกับ ‘เกษียร เตชะพีระ’ และพินิจความงามของ ‘กวีฝ่ายซ้าย’ กับนักวิชาการผู้ได้ชื่อว่าแต่งบทกวีได้งดงาม คมคาย และทันสถานการณ์ที่สุดในเวลานี้

ชลธร วงศ์รัศมี

9 Jun 2018

Books

23 May 2018

Ode to Joy : ความตายของนักพฤกษศาสตร์และบทกวีแด่ความปีติรื่นรมย์

‘Ode to Joy’ คือเพลงที่เดวิด กูดดอลล์ ชายชราผู้ปรารถนาการุณยฆาตเลือกฟังก่อนตาย เหตุใดเพลงนี้จึงเหมาะสมเป็นเพลงอำลาชีวิต และหากใครยังอยากมีชีวิตต่อไป ‘Ode to Joy’ เหมาะสำหรับใช้ฉลองการได้มีชีวิตอยู่เช่นกัน

ชลธร วงศ์รัศมี

23 May 2018

POETIC

14 Apr 2018

บทกวีแด่โรคมะเร็ง

โรคมะเร็งมีบทกวีเป็นของตนเองมากอย่างน่าทึ่ง ทั้งตลกร้าย โศกเศร้า กระทั่งบทกวีที่เอ่ยถึงพัฒนาการของมัน คอลัมน์ Poetic ชวนผู้อ่านเจาะเข้าไปในเซลล์มะเร็งที่เชื่อมต่อกับหัวใจกวีใน ‘บทกวีแด่โรคมะเร็ง’

ชลธร วงศ์รัศมี

14 Apr 2018

POETIC

18 Mar 2018

กวีในวิทยาศาสตร์

การเดินทางของแสง สปีชีส์ และบทกวีไปด้วยกันได้อย่างไร ชลธร วงศ์รัศมี บอกเล่าในคอลัมน์
Poetic ว่าบทกวีและวิทยาศาสตร์มีสัมพันธ์เกี่ยวกระหวัดกันมากกว่าที่คิด

ชลธร วงศ์รัศมี

18 Mar 2018

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save