101 In Focus EP.190: เลี้ยงดูเด็กที่ดี ไม่ใช่แค่หน้าที่พ่อแม่

เรามักคุ้นชินกับประโยคที่ว่า ‘เด็กจะดีได้ พ่อแม่ต้องดีด้วย’ แต่การเติบโตและส่งเสริมพัฒนาการของเด็กคนหนึ่งไม่ได้ขึ้นอยู่กับครอบครัวเพียงอย่างเดียว เพราะระบบนิเวศทางสังคมก็เป็นส่วนประกอบที่ช่วยให้เด็กคนหนึ่งเติบโตอย่างมีคุณภาพและเป็นสุข ดังสำนวนที่ว่า ‘เลี้ยงเด็กหนึ่งคน ใช้คนทั้งหมู่บ้าน’

101 In Focus สัปดาห์นี้ชวนสำรวจพื้นที่การเติบโตของเด็กในชุมชนที่แตกต่างกัน ทั้งเด็กที่ไม่ได้อาศัยอยู่กับพ่อแม่ เพราะครอบครัวต้องไปทำงานต่างประเทศเพื่อให้สามารถส่งเงินมาเลี้ยงดูลูกหลานได้, เด็กในสามจังหวัดชายแดนใต้ที่ต้องเติบโตมากับความรุนแรงและคำหลอกลวงของความสงบสุขที่ไม่เคยเกิดขึ้นจริง, เด็กข้ามชาติที่เผชิญกับสภาวะวิกฤตทางการเมืองและเศรษฐกิจจนต้องหลบภัยมายังไทย 

และทำความเข้าใจการมี ‘เพื่อนหลากหลาย’ ที่ช่วยทำให้เด็กเข้าอกเข้าใจความแตกต่างในสังคม และมีแนวโน้มจะมองเห็นประเด็นปัญหาความเหลื่อมล้ำ ความอยุติธรรม และสิทธิเสรีภาพในสังคมมากขึ้น

ดำเนินรายการโดย ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย และ สุดารัตน์ พรมสีใหม่

อ่านบทความเพิ่มเติมได้ที่

จากซาอุดรถึงผีน้อย: ‘ความฝันรุ่นพ่อ’ สู่ ‘ความจริงรุ่นลูก’

‘สันติภาพไม่สามารถเกิดขึ้นจากปลายกระบอกปืน’: ความฝันและความหวังของเยาวชนชายแดนใต้ที่รอวันผลิบาน

ไร้สัญชาติ จึงไร้ความมั่นคง’ ชีวิตเปราะบางของเด็ก-ครอบครัวข้ามชาติในแม่สอด กลางวิกฤตโควิดและรัฐประหารพม่า

เพื่อนแท้ไม่มีขาย แต่ถ้ามีเพื่อนหลากหลายโลกจะกว้างขึ้น

MOST READ

Media

4 Nov 2022

จาก ‘เมนู’ สู่ ‘เมลิญณ์’ เมื่อถูกรัฐคุกคาม เยาวชนจึงลี้ภัย

เมลิญณ์ หรือชื่อเดิมคือ ‘เมนู-สุพิชฌาย์ ชัยลอม’ เยาวชนนักเคลื่อนไหวการเมือง จำต้องลี้ภัยออกนอกประเทศ หลังถูกคุกคามอย่างหนัก

ศุภวิชญ์ ศิริสวัสดิ์วัฒนา

4 Nov 2022

Media

6 Aug 2020

Innerscape Ep.6 เป็นครูศิลปะแบบไหนที่ไม่ทำให้เด็ก ‘กลัว’ ศิลปะ

Innerscape ศิลปะบนผืนใจ ตอนใหม่ ชวนคุยเรื่อง ‘ครูศิลปะ’ ผู้เชื่อมโยงระหว่างเด็กและศิลปะ ตัวแปรสำคัญที่อาจกำหนดว่า ศิลปะจะถูกระบายไปถึงผืนใจของเด็กหรือไม่

ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์

6 Aug 2020

Media

21 Dec 2018

พี่ๆ ข่มขืนหนูซ้ำทำไม?

คุณว่าอะไรคือสิ่งที่ทำให้ผู้หญิงไม่กล้าเข้าสู่กระบวนการยุติธรรม? คุณเคยตั้งคำถามหรือมีอคติกับผู้ที่เป็นเหยื่อความรุนแรงทางเพศหรือเปล่า? ทำไม การถามเหยื่อว่า “ทำไมแต่งตัวแบบนั้น ถึงเป็นคำถามท่ี่ไม่ควรถาม?” การตั้งคำถามแบบไหน ที่ช่วยฟื้นฟูจิตใจเหยื่อ?

กองบรรณาธิการ

21 Dec 2018

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save