fbpx

Books

26 Sep 2022

[ความน่าจะอ่าน] ให้รักเป็นบทกวีชั่วชีวิต: จุดร่วม ‘ชีวิตห่วย’ แห่งยุคสมัย

1 ใน 8 หนังสือติดอันดับ Top Highlights ความน่าจะอ่าน 2022 — วจนา วรรลยางกูร เขียนถึง ‘ให้รักเป็นบทกวีชั่วชีวิต’ ของสะอาด

วจนา วรรลยางกูร

26 Sep 2022

Social Issues

13 Sep 2022

เด็กเล็กไทยสูญเสียการเรียนรู้แค่ไหนจากโควิด-19?

โควิด-19 ทำให้โลกชะงัก และทำให้การศึกษาต้องสะดุด โดยเฉพาะกับเด็กปฐมวัยที่ต้องหยุดไปโรงเรียนจนเกิดภาวะการเรียนรู้ถดถอย

วจนา วรรลยางกูร

13 Sep 2022

Error Childhood: การเรียนรู้ที่หล่นหาย

7 Sep 2022

Error Childhood: การเรียนรู้ที่หล่นหาย

101 คุยกับ รศ.ดร.วีระชาติ กิเลนทอง ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยเพื่อการประเมินและออกแบบนโยบาย (RIPED) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ถึงความรุนแรงของปัญหาการเรียนรู้ถดถอย และทางออกสู่การฟื้นฟูการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย

กองบรรณาธิการ

7 Sep 2022

Social Issues

5 Sep 2022

วีระชาติ กิเลนทอง : เด็กเล็กไทยกับ ‘Learning Loss’ บาดแผลทางการศึกษาที่รอเยียวยา

101 คุยกับ รศ.ดร.วีระชาติ กิเลนทอง เรื่องความพร้อมในการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยไทย ความรุนแรงของปัญหาการเรียนรู้ถดถอย และทางออกสู่การฟื้นฟูการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย

วจนา วรรลยางกูร

5 Sep 2022

101 in focus

29 Jul 2022

101 In Focus Ep.139: ประวัติศาสตร์บาดแผลลุ่มน้ำโขง ชี มูล

101 In Focus ชวนทบทวนเหตุการณ์ทางการเมืองแถบลุ่มน้ำโขง ชี มูล เมื่อความโหดร้ายถูกกลบด้วยความหวาดกลัวจากเสียงปืนและกลิ่นคาวเลือด จนทำให้คนรุ่นหนึ่งไม่ได้รับมรดกความทรงจำมากพอจะส่งต่อให้คนรุ่นใหม่ที่สนใจประวัติศาสตร์ท้องถิ่นของตัวเองได้  

กองบรรณาธิการ

29 Jul 2022

Media

15 Jul 2022

101 In Focus Ep.137: สิ้นอาเบะ สะเทือนญี่ปุ่น?: ญี่ปุ่นหลังการลอบสังหารอดีตนายกฯ อาเบะ

สรุปการลอบสังหารมีเหตุจากอะไร? หน้าสื่อญี่ปุ่นเสนอความคืบหน้าในการสืบสวนไว้อย่างไรบ้าง? สังคมจะจดจำอาเบะอย่างไร? การเมืองญี่ปุ่นภายใต้รัฐบาลคิชิดะจะเปลี่ยนไปอย่างไร? อะไรคือความท้าทายที่รัฐบาลพรรค LDP ภายใต้การนำของคิชิดะต้องเผชิญเมื่อปราศจากอิทธิพลอาเบะ? แนวทางการต่างประเทศสายแข็งแบบอาเบะจะเปลี่ยนไปหรือไม่? 101 In Focus สัปดาห์นี้ ชวนมอง ‘ญี่ปุ่นหลังการลอบสังหารอาเบะ’ 

กองบรรณาธิการ

15 Jul 2022

101 in focus

8 Jul 2022

101 In Focus Ep.136: ‘สิทธิทำแท้ง’ ในสหรัฐฯ บนอนาคตที่มืดหม่น

101 In Focus ชวยคุยเรื่องอนาคตสิทธิทำแท้งในสหรัฐฯ หลังศาลสูงสุดกลับคำพิพากษาซึ่งรับรองสิทธิทำแท้งของผู้หญิงทั่วประเทศ

กองบรรณาธิการ

8 Jul 2022

Law

1 Jul 2022

“ต้องออกไปนอกอาณาจักรกฎหมาย” เมื่อสังคมไม่ได้ต้องการแค่นักท่องฎีกา

101 รวบรวมความเห็นจากมุมมองสิทธิมนุษยชน เศรษฐศาสตร์ สิ่งแวดล้อม และมานุษยวิทยา ในการรับฟังความเห็นของคณะอนุกรรมการสภานิติศึกษาแห่งชาติ เพื่อให้เห็นข้อเสนอการปฏิรูปการเรียนการสอนนิติศาสตร์ที่หลากหลาย

วจนา วรรลยางกูร

1 Jul 2022

Social Issues

17 Jun 2022

“เราจะไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง” คำมั่นในวิกฤตกับ ‘แรงงานข้ามชาติ’ ที่ถูกลืม

มองผลกระทบของแรงงานข้ามชาติในไทยช่วงโรคระบาด เมื่อการเข้าถึงสิทธิต่างๆ ถูกจำกัดด้วยเส้นแบ่งสัญชาติ

วจนา วรรลยางกูร

17 Jun 2022

101 in focus

10 Jun 2022

101 In Focus Ep.132 ‘ยอมรับแต่ไม่เท่าเทียม’ สิทธิ LGBT อยู่ตรงไหนในสังคมไทย

101 In Focus Ep.132 ในเดือนแห่งความหลากหลายทางเพศ กฎหมายการสมรสของคนเพศหลากหลายกำลังพิจารณาในสภา แต่ยังมีข้อถกเถียงว่าบางฉบับอาจไม่ได้มองสิทธิชาว LGBT ด้วยความเสมอภาค นอกจากนี้ สังคมไทยยังต้องขบคิดเรื่องสิทธิอื่นๆ ของชาว LGBT อีกด้วย

กองบรรณาธิการ

10 Jun 2022

Politics

3 Jun 2022

“ทางสายกลางคือคำตอบ” มองลับลวงพรางในนโยบายกัญชาเสรีกับ นพ.บัณฑิต ศรไพศาล

101 พูดคุยกับ ดร.นพ.บัณฑิต ศรไพศาล นักวิทยาศาสตร์ Centre for Addiction and Mental Health แคนาดา ถึงข้อสังเกตในนโยบายกัญชาและมาตรการควบคุมที่ยังไม่ถี่ถ้วน

วจนา วรรลยางกูร

3 Jun 2022
1 4 5 6 18

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save