fbpx

เข้าใจระบบอาชีวศึกษาไทยใน 9 ภาพ: เด็กสายอาชีพอยู่ตรงไหนในตลาดแรงงาน

ไม่ว่าเราจะมองอาชีวศึกษาหรือการเรียน ‘สายอาชีพ’ แบบไหน แต่สิ่งหนึ่งที่เราไม่อาจละเลยคือความจริงที่ว่า ‘นักเรียนสายอาชีพ’ เป็นอนาคตและเป็นบุคลากรที่สำคัญต่อสังคม ไม่ว่าประเทศจะพึ่งการขับเคลื่อนเศรษฐกิจจากเกษตรกรรม อุตสาหกรรม เทคโนโลยี หรือการท่องเที่ยวและบริการ

การพัฒนาคุณภาพแรงงานกลายเป็นหนึ่งโจทย์สำคัญสำหรับประเทศไทยในการพยายามก้าวพ้นกับดักรายได้ปานกลาง โดยเฉพาะการวางเป้าหมายเพิ่มแรงงานทักษะสูง

เมื่อมองไปที่ระบบการศึกษาซึ่งเป็นต้นทางในการสร้างคนส่งต่อไปยังตลาดแรงงาน ส่วนหนึ่งที่ยังขาดคือแรงงานมีฝีมือจากอาชีวศึกษา

101 ชวนทำความเข้าใจระบบอาชีวศึกษาไทยใน 9 ภาพผ่านตัวเลขและสถิติ เด็กสายอาชีพอยู่ตรงไหนในตลาดแรงงาน ปัญหาคอขวดในการพัฒนาอาชีวศึกษาอยู่ตรงไหน และโจทย์แบบไหนที่เราต้องตอบ

:: ภาพรวมตลาดแรงงานไทย เมื่อเศรษฐกิจไทยกำลังเปลี่ยน ::

:: ประมาณการเข้าสู่ตลาดแรงงานและอัตราว่างงานเทียบจากระดับการศึกษา ::

:: ภาพใหญ่ระบบอาชีวศึกษาไทย ::

:: ความต้องการของนายจ้างกับคุณภาพของนักเรียนสายอาชีพ ::

:: อัตราการจบตรงอุตสาหกรรมเป้าหมาย ::

:: ทักษะพื้นฐานของนักเรียนสายอาชีพ ::

งบประมาณการศึกษาสายอาชีพเทียบกับระดับการศึกษาอื่น

:: อัตราส่วนครูต่อนักเรียนในสถาบันอาชีวศึกษา (1) ::

:: อัตราส่วนครูต่อนักเรียนในสถาบันอาชีวศึกษา (2) ::


ผลงานชิ้นนี้เป็นส่วนหนึ่งของความร่วมมือระหว่าง กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) และ The101.world

MOST READ

Spotlights

14 Aug 2018

เปิดตา ‘ตีหม้อ’ – สำรวจตลาดโสเภณีคลองหลอด

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย พาไปสำรวจ ‘คลองหลอด’ แหล่งค้าประเวณีใจกลางย่านเมืองเก่า เปิดปูมหลังชีวิตหญิงค้าบริการ พร้อมตีแผ่แง่มุมเทาๆ ของอาชีพนี้ที่ถูกซุกไว้ใต้พรมมาเนิ่นนาน

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

14 Aug 2018

Social Issues

27 Aug 2018

เส้นทางที่เลือกไม่ได้ ของ ‘ผู้ชายขายตัว’

วรุตม์ พงศ์พิพัฒน์ พาไปสำรวจโลกของ ‘ผู้ชายขายบริการ’ ในย่านสีลมและพื้นที่ใกล้เคียง เปิดปูมหลังชีวิตของพนักงานบริการในร้านนวด ร้านคาราโอเกะ ไปจนถึงบาร์อะโกโก้ พร้อมตีแผ่แง่มุมลับๆ ที่ยากจะเข้าถึง

กองบรรณาธิการ

27 Aug 2018

Social Issues

21 Nov 2018

เมื่อโรคซึมเศร้าทำให้อยากจากไป

เรื่องราวการรับมือกับความคิด ‘อยากตาย’ ผ่านประสบการณ์ของผู้ป่วยโรคซึมเศร้า คนเคียงข้าง และบทความจากจิตแพทย์

ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์

21 Nov 2018

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save