fbpx

20 อันดับผลงานยอดนิยม ประจำปี 2022

พลิกหน้ากฎหมายยาเสพติดใหม่ เปิดมิติใหม่แห่งการแก้ปัญหายาเสพติดไทย

101 ชวนพลิกหน้ากฎหมายยาเสพติดฉบับใหม่ ไล่เรียงประเด็นสำคัญ พร้อมวิเคราะห์ประโยชน์ มองความท้าทายข้างหน้าในการนำกฎหมายใหม่ไปปฏิบัติ เพื่อแก้ปัญหายาเสพติดในมิติใหม่

THIRTEEN LIVES อภินิหารต่อลมหายใจ สิบสามหมูป่าในคร่ำครรภ์นางนอน

‘กัลปพฤกษ์’ เขียนถึง Thirteen Lives (2022) หนังลำดับล่าสุดของผู้กำกับฮอลลีวูด รอน ฮาเวิร์ด ที่จับจ้องไปยังเหตุการณ์ติดถ้ำที่เกิดขึ้นจริงในไทยเมื่อปี 2018 จนกลายเป็นหมุดหมายใหญ่ที่ประชาคมโลกร่วมมือให้ความช่วยเหลือ

หนังโป๊ การปลดเปลื้อง และนัดบอด: ชีวิตใหม่ของโรงหนังชั้นสอง

ชีวิตใหม่ของเหล่าโรงหนังชั้นสอง จากที่เป็นโรงฉายหนังควบก็ค่อยๆ ถูกแปรสภาพ โดยไม่ได้ทำหน้าที่แค่ฉายหนัง หากแต่ยังรองรับความโหยหาบางประการของผู้คนไว้ด้วย

คราฟต์เบียร์และความเหลื่อมล้ำ

คราฟต์เบียร์และความเหลื่อมล้ำ

วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ เขียนถึงอุตสาหกรรมเบียร์ไทย ที่ผู้ประกอบการคราฟต์เบียร์รายเล็กไม่อาจเติบโตได้ เพราะติดล็อกข้อกฎหมาย และกลุ่มทุนที่ผูกขาด ทั้งที่มีศักยภาพ

‘บุพเพสันนิวาส 2’ นอสตัลเจียแสนหวานเคลือบอุดมการณ์ราชาชาตินิยม (^o^)

มองภาพยนตร์ ‘บุพเพสันนิวาส 2’ (2022) ผ่านเลนส์สังคมและการเมือง เมื่อดูเหมือนว่าภายใต้เรื่องราวสดใสและอ่อนหวานนั้น คือการสอดรับอุดมการณ์ราชาชาตินิยมและส่งต่อไปยังศตวรรษที่ 21

ทำไมร้านอาหารเหนือจึงไม่ค่อยแพร่หลาย

วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ เขียนถึงข้อสังเกตที่อาหารเหนือไม่แพร่หลายในภูมิภาคอื่นๆ เมื่อเทียบกับอาหารอีสานและอาหารใต้ที่มีร้านกระจายตัวทั่วประเทศ

ส่องสนามเลือกตั้งประธานาธิบดีเกาหลีใต้ 2022

ส่องสนามเลือกตั้งประธานาธิบดีเกาหลีใต้ 2022

เสกสรร อานันทศิริเกียรติ พามองสนามเลือกตั้งประธานาธิบดีเกาหลีใต้ 2022 เปรียบเทียบพื้นเพ ภาพลักษณ์ และวิสัยทัศน์ของผู้สมัครเด่นๆ ก่อนที่การเลือกตั้งจะมีขึ้นในวันที่ 9 มีนาคมนี้

กฎหมายยาเสพติดใหม่: 8 เดือนของการบังคับใช้ในภาวะที่ยังไร้กฎหมายลูก กับ ภูวิชชชญา เหลืองธีรกุล

101 คุยกับอัยการ ภูวิชชชญา เหลืองธีรกุล ถึงประโยชน์และช่องว่างที่พบในการบังคับใช้กฎหมายยาเสพติดฉบับใหม่ตลอด 8 เดือนที่ผ่านมา

โลกโหดร้ายเกินไปหรือฉันอ่อนไหวเกินควร? : จากพ่อรวยสอนลูกถึงหนังสือฮีลใจ เมื่อหนังสือแห่งยุคสมัยคือการปลอบประโลม

ปรากฏการณ์หนังสือแนว ‘ให้กำลังใจ’ ขายดีสะท้อนอะไร เนื้อหาในหนังสือเหล่านี้บอกอะไร โลกแบบไหนที่พาเรามาถึงจุดนี้ และคนที่เติบโตมาในยุคแห่งความเปราะบางกำลังเดินไปทางไหน

ท่านอ้น

อ่านประวัติศาสตร์ ‘สาธิตจุฬาฯ’ เรื่องเล่าลบเลือนของศิษย์เก่าผู้เกือบจะได้เป็นเจ้าฟ้า (?)

เรื่องเล่าการค้นหาประวัติการศึกษาที่หายไปของ หม่อมเจ้าวัชเรศร มหิดล (วัชเรศร วิวัชรวงศ์) พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ในช่วงที่เคยศึกษาที่สาธิตจุฬาฯ

อยู่เองได้ โตเองเป็น ตอนที่ 2

นพ.ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ ชวนคิดถึงการเลี้ยงลูกให้ ‘อยู่เองได้ โตเองเป็น’ ซึ่งอาจเป็นเรื่องยากในระบบการศึกษาที่ไม่ปฏิรูปเสียที หนทางที่มีจึงอาจกลับมาที่พ่อแม่แบบ ‘เราทำเองได้ เราทำเองเป็น’

THE RESCUE – ‘ภารกิจกู้ภัย’ ปาฏิหาริย์บีบหัวใจ เหนือวิสัยผู้เชี่ยวชาญ

‘กัลปพฤกษ์’ เขียนถึงสารคดี The Rescue (2021) ที่จับจ้องไปยังภารกิจกู้ภัยจากเหตุการณ์ทีมนักฟุตบอลเยาวชน ‘หมูป่า’ จากเชียงราย ติดอยู่ในถ้ำหลวง จังหวัดเชียงราย โดยนับเป็นหนึ่งในสารคดีที่สำรวจภารกิจนี้ได้มีมิติความเป็นมนุษย์อย่างที่สุด

จากไครเมีย สู่ยูเครน: เปิดปมเบื้องหลังความขัดแย้งรัสเซีย-ยูเครนระลอกใหม่

101 ชวนถอดรหัสวิกฤตชายแดนยูเครน ที่จริงแล้วรัสเซียคิดอะไรอยู่? ตั้งใจจะทำสงครามจริงหรือไม่? ทำไมยูเครนถึงกลายเป็น ‘สนามอารมณ์’ ทางภูมิรัฐศาสตร์ระหว่างรัสเซียและโลกตะวันตก? และทำไมรัสเซียมีท่าทีที่ดูเหมือนว่าจะ ‘ยอมไม่ได้’?

‘ไปให้พ้นจากความยากจน’ บันทึกชีวิตผู้หญิงอีสานในปารีสที่ฝันถึงความเท่าเทียม

เรื่องราวชีวิตแรงงานไทยจากครอบครัวชาวนา ผู้พลัดอีสานมาอยู่ปารีสนาน 20 ปี โดยเริ่มต้นจากการเป็นแรงงานผิดกฎหมาย ทำงานหนัก-เสี่ยง จนได้สัญชาติฝรั่งเศสและก้าวสู่การเป็นเจ้าของกิจการ ทั้งหมดนี้เพื่อการต่อสู้กับความยากจน และแสวงหาคุณภาพชีวิตที่ดีกว่า

กาลครั้งหนึ่งในอินเดีย RRR (Rise Roar Revolt)

‘นรา’ ขอแนะนำให้คุณชม ‘RRR’ หนังอินเดีย ‘อภิมหาสนุกคูณสองเติมไม้ยมก ตบท้ายด้วยเครื่องหมายไปยาลใหญ่’ กำกับโดย อาส. อาส. ราจาโมลลี

รัฐศักดินา-อาณานิคมแบบไทยๆ – กุลลดา เกษบุญชู มี้ด

ในวันที่สถานการณ์พื้นผิวดูนิ่งเงียบ เมื่อเทียบกับความร้อนแรงในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา 101 ชวน รศ.ดร.กุลลดา เกษบุญชู มี้ด ตั้งหลักวิเคราะห์การเมืองและรัฐไทยอีกครั้ง

World 2022 and Beyond: ‘แผนที่ใหม่’ ของเกมการเมืองโลกบนระเบียบโลกสองขั้วอำนาจ

ในวันที่โลกกำลังก้าวสู่จุดเปลี่ยนอีกครั้งในปี 2022 จิตติภัทร พูนขำ ฉายภาพความเปลี่ยนแปลงของ ‘แผนที่ใหม่’ ในเกมการเมืองโลกบนระเบียบโลกที่กำลังหวนคืนสู่ระบบสองขั้วอำนาจอีกครั้งและกำลังขยับขยายปริมณฑลการขับเคี่ยวไปสู่สนามเทคโนโลยี และสนามระบบคุณค่า มองความท้าทายจาก ‘การเปลี่ยนผ่านครั้งใหญ่’ ในมิติเชิงอำนาจ โลกทัศน์ โรคระบาด และพลังงานที่โลกจะต้องเผชิญ พร้อมทั้งมองยุทธศาสตร์การต่างประเทศของไทยท่ามกลางกระแสลมแห่งการเปลี่ยนผ่าน

“อย่าไว้ใจงานวิชาการ!” – บทเรียนจากรายงานศึกษาผลกระทบควบรวมทรู-ดีแทคในมือ กสทช.

101 ชวนจับเท็จรายงานศึกษาผลกระทบควบรวมทรู-ดีแทค ซึ่ง กสทช. ใช้ประกอบการตัดสินเรื่องการควบรวม เพื่อเป็นบทเรียนว่าอย่าไว้ใจผลจากงานวิชาการเสมอไป

คังคุไบ: ภาพสะท้อนปัญหาการค้ามนุษย์ของอินเดีย

ในวันที่ ‘คังคุไบ’ กำลังเป็นกระแส ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก สะท้อนปัญหาการค้ามนุษย์และการค้าประเวณี ปัญหาที่ฝังรากลึกในอินเดียมานาน จากทั้งปัญหาความยากจน และค่านิยมทางสังคมและศาสนา ผ่านเรื่องราวของคังคุไบ รวมทั้งความพยายามขจัดปัญหาดังกล่าวในปัจจุบันของรัฐบาลอินเดีย

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save