fbpx

City

12 Jul 2019

Futurising Thailand : Chiang Mai Model พัฒนาเมืองอย่างไรให้ไม่ทิ้งราก

เก็บความจากงานสัมมนา Futurising Thailand ครั้งที่ 3 ว่าด้วยแนวคิดเบื้องหลังของการพัฒนาเมืองเชียงใหม่ รวมถึงมุมมองและข้อเสนอแนะจากผู้เชี่ยวชาญด้านการพัฒนาเมือง

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล

12 Jul 2019

Economic Focus

5 Jul 2019

Urbanization Thailand สร้าง’เมือง’ไทย ให้ทันโลก

เพราะ ‘คุณ’ มีส่วนในการสร้าง “เมือง” ที่คุณไม่อยากอยู่
คุณเป็นคนออกแบบเมืองแบบที่คุณไม่อยากให้มันเป็น

แต่ในทางกลับกัน คุณรู้หรือไม่ ว่าการพัฒนาเมืองให้ดีขึ้น เปลี่ยนสังคม และผู้คนให้มีศักยภาพ
คุณเองก็สามารถมีส่วนร่วมในการทำมันได้เช่นกัน

กองบรรณาธิการ

5 Jul 2019

Spotlights

1 Jan 2019

มองอนาคต ‘เมือง’ ไทย ผ่านสายตานักอนาคตศึกษา – ผศ.ดร.อภิวัฒน์ รัตนวราหะ

ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์ และ สมคิด พุทธศรี ชวน ‘อภิวัฒน์ รัตรวราหะ’ มาพูดคุยเกี่ยวกับอนาคตของความเป็น ‘เมือง’ ในประเทศไทย และทัศนะต่อการพัฒนาเมืองที่ควรจะปรับเปลี่ยนไปในอนาคต

ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์

1 Jan 2019

Life & Culture

25 Apr 2018

ชุมชนป้อมมหากาฬ ใครจะเป็นเหยื่อรายต่อไป

วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ เขียนถึงการไล่รื้อชุมชนป้อมมหากาฬ พร้อมเปรียบเทียบวิธีคิดการจัดการเมือง Chania ประเทศกรีซ แหล่งกำเนิดอารยธรรมกรีกเก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก

วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์

25 Apr 2018

China

5 May 2017

ยุทธศาสตร์ Jing-Jin-Ji: ภาพอนาคตประเทศจีน

รัฐบาลจีนกำลังคิดการใหญ่กับ “ยุทธศาสตร์ Jing-Jin-Ji” ซึ่งเป็นแนวคิดเชื่อมโยงมหานครปักกิ่ง และมหานครเทียนจิน เข้ากับเมืองใหญ่ 11 เมืองของมณฑลเหอเป่ย โดยรัฐบาลจีนจะลงทุนสร้างรถไฟความเร็วสูง เพื่อให้การเดินทางจากเมืองใหญ่แต่ละแห่งในมณฑลเหอเป่ย เข้าสู่ปักกิ่งหรือเทียนจินใช้เวลาไม่เกิน 1 ชั่วโมง

หากแผนการสำเร็จ จะทำให้เกิด “อภิมหานคร” ที่กินพื้นที่และประชากรมากที่สุดในประวัติศาสตร์โลก ด้วยพื้นที่เขตเมืองทั้งสิ้นรวม 212,000 ตารางกิโลเมตร คิดเป็น 40% ของพื้นที่ประเทศไทย โดยมีประชากรอาศัยในเขตเมืองที่เชื่อมต่อถึงกันรวม 130 ล้านคน ซึ่งมากกว่าจำนวนประชากรของประเทศไทยหนึ่งเท่าตัว

อาร์ม ตั้งนิรันดร เขียนเล่าเบื้องหลังความคิดของยุทธศาสตร์แห่งอนาคตของรัฐบาลจีน ที่จะทำให้สำนวนเก่าในนิยายรักของจีนที่ว่า “ห่างกันหมื่นลี้ แต่เหมือนอยู่ใกล้ชิดกัน” เป็นความจริง

อาร์ม ตั้งนิรันดร

5 May 2017

Trends

14 Mar 2017

‘จุดตัด’ ในยุคเปลี่ยนผ่าน

ใครๆ ก็บอกว่า เราอยู่ในยุคที่ทุกอย่างกำลังเปลี่ยนผ่านไปอย่างรวดเร็ว แต่คำถามก็คือ มันมีอะไรเปลี่ยนผ่านบ้าง และเราจะ ‘เห็น’ สิ่งที่เปลี่ยนผ่านทั้งหลายแหล่เหล่านั้นได้อย่างไร เพราะเมื่อมันกำลังเปลี่ยนผ่าน เราย่อมมองหามันไม่ได้ง่ายๆ คำตอบต่อคำถามนี้ก็คือ เราต้องพยายามมองหา ‘จุดตัด’ ของสภาวะต่างๆ ที่จะโผล่ขึ้นมาทำให้เราเห็นถึง ‘สัญญาณ’ การเปลี่ยนผ่านบางอย่าง สมคิด พุทธศรี จะพาเราไปค้นหา ‘จุดตัด’ ที่ว่านั้น

สมคิด พุทธศรี

14 Mar 2017

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save