fbpx

Lifestyle

26 Sep 2023

Trolley problem #7: นัดชิงฟุตบอลโลก-Jurgen Klopp กับข้อสรุปสงครามสามัญสำนึกเรื่องจำนวน

คอลัมน์ Hard Choices ชวนคิดต่อถึงโจทย์ปัญหารถรางว่าแท้จริงแล้ว ‘จำนวน’ มีส่วนสำคัญแค่ไหนต่อการเลือก

ตะวัน มานะกุล

26 Sep 2023

Life & Culture

15 Aug 2023

Trolley problem #6: ‘สงครามสามัญสำนึก’ – รบอย่างไรกับคนที่เชื่อสุดใจว่า ‘จำนวน’ ไม่สำคัญ

คอลัมน์ Hard Choices ชวนคิดต่อถึงโจทย์ปัญหารถรางว่าเราจะถกเถียงต่ออย่างไร หากมี
คนเสนอให้โยนเหรียญหัว-ก้อยตัดสินใจว่าจะให้รถรางวิ่งทับห้าคนหรือหนึ่งคน เมื่อ ‘จำนวน’ ไม่สำคัญ

ตะวัน มานะกุล

15 Aug 2023

Thai Politics

8 Jun 2023

Trolley problem #5: ช่วย 5 คน หรือ 1 คน – ง่ายมาก แค่โยนหัวก้อยก็จบ

คอลัมน์ Hard Choices เดือนนี้ ตะวัน มานะกุล เขียนถึง ข้อเสนอในการ ‘โยนหัวก้อย’ ในการตัดสินใจในปัญหารถรางมาตรฐาน ว่าในกรณีแบบไหน ไม่ว่าอีกฟากของรถรางจะมีคนนอนมากกว่าอีกฟากอยู่กี่คน การโยนหัวก้อยก็จะยังเป็นคำตอบ

ตะวัน มานะกุล

8 Jun 2023

Life & Culture

11 Apr 2023

Trolley problem #4: คุณไม่ต้องรับผิดชอบทางศีลธรรม หากเป็นความผิดของฟ้าดิน!

คอลัมน์ Hard Choices เดือนนี้ ตะวัน มานะกุล เขียนถึง กรณีเขื่อนมิสซิสซิปปีที่สะท้อน ‘ปัญหารถราง’ อีกรูปแบบหนึ่ง ซึ่งนำไปสู่อีกหนึ่งความเป็นไปได้ในการปกป้องข้อเสนอเรื่องการแยกแยะระหว่าง ‘การฆ่ากับปล่อยให้ตาย’ จากการโยกคันโยกสับรถราง

ตะวัน มานะกุล

11 Apr 2023

Life & Culture

22 Sep 2022

Trolley problem #3: ถ้าเราไม่อยากตาย เราก็ไม่ควรเลือกให้คนอื่นไปตาย – คำตอบที่เหมือนจะช่วยแก้ปัญหารถราง

คอลัมน์ Hard Choices เดือนนี้ ตะวัน มานะกุล เขียนถึง สาเหตุที่คำตอบของปัญหารถราง “ถ้าคุณไม่อยากตาย ก็ไม่ควรส่งคนอื่นไปตาย” ล้มเหลว ด้วยข้อเสนอของ F. M. Kamm ที่ว่า คำตอบของปัญหารางรางแบบสามทางเลือกจะไม่ส่งต่อมาในกรณีสองทางเลือก และการแยกระหว่าง ‘สิ่งที่ควรทำ’ กับ ‘ภาระในการทำ’

ตะวัน มานะกุล

22 Sep 2022

Life & Culture

8 Aug 2022

Trolley problem #2: ‘ฆ่า’ กับ ‘ปล่อยให้ตาย’ – ทางเลือกที่ดูเหมือนจะมีคำตอบทางจริยศาสตร์

คอลัมน์ Hard Choices เดือนนี้ ตะวัน มานะกุล เขียนถึง หลักที่ให้คำตอบที่ถูกต้องใน ‘Trolley problem’ หรือ ‘ปัญหารถราง’ ของ Phililipa Foot ว่า ‘การทำร้าย’ ใครสักคนนั้นผิดเสมอ ในขณะที่ ‘การปล่อยภัยร้ายให้ดำเนินไป’ โดยไม่เข้าไปช่วยเหลือนั้นผิดน้อยกว่า และอีกโจทย์ปัญหารถรางที่คำตอบของ Foot ตอบไม่ได้

ตะวัน มานะกุล

8 Aug 2022

Life & Culture

5 Jul 2022

Trolley problem #1: การเสียสละเพื่อส่วนรวมเป็นเรื่องที่ถูกต้องทางจริยธรรมเสมอไปหรือไม่?

คอลัมน์ Hard Choices เดือนนี้ ตะวัน มานะกุล เขียนถึง ‘Trolley problem’ หรือ ‘ปัญหารถราง’ ปัญหาจริยศาสตร์สุดคลาสสิก ที่นำไปสู่ดีเบตที่ว่า จะมีวิธีการตัดสินใจแบบไหนบ้างที่จะสามารถคิดคำนวณถึงผลลัพธ์ได้ ในขณะที่เลือกการกระทำที่ถูกต้องในตัวเองไปพร้อมๆ กัน

ตะวัน มานะกุล

5 Jul 2022

Science & Innovation

21 Oct 2020

สมองเราเป็นอย่างไร เมื่อต้องตัดสินใจเชิงจริยธรรม

ชัยภัทร ชุณหรัศมิ์ เขียนถึง ‘ปริศนารถราง’ ที่ทดสอบการตัดสินใจเชิงจริยธรรมของมนุษย์ รวมถึงการทำงานของสมองในภาวะที่ต้องใช้ ‘เหตุผล’ กับ ‘สัญชาตญาณ’

ชัยภัทร ชุณหรัศมิ์

21 Oct 2020

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save