ฟังเสียงจากเยาวชน ร่วมแก้ปัญหาสังคมแบบไร้พรมแดน
กานต์ธีรา ภูริวิกรัย เก็บความจากงาน ‘Borderless Youth Forum’ ซึ่งเปิดโอกาสให้ตัวแทนเยาวชนจากทั่วโลกได้มาร่วมระดมสมอง และแสดงผลงานในประเด็นที่เกี่ยวกับความยุติธรรม ผ่านกระบวนการ design thinking


กานต์ธีรา ภูริวิกรัย เก็บความจากงาน ‘Borderless Youth Forum’ ซึ่งเปิดโอกาสให้ตัวแทนเยาวชนจากทั่วโลกได้มาร่วมระดมสมอง และแสดงผลงานในประเด็นที่เกี่ยวกับความยุติธรรม ผ่านกระบวนการ design thinking
วจนา วรรลยางกูร เก็บความจากเวทีสาธารณะระดับนานาชาติว่าด้วยหลักนิติธรรมและการพัฒนาที่ยั่งยืนครั้งที่ 7 ‘นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อความยุติธรรม’
กานต์ธีรา ภูริวิกรัย สรุปเนื้อหาจากกิจกรรม ‘Problem Lab’ ว่าด้วยการให้บริการทางการเงินที่ทั่วถึงและความเหลื่อมล้ำ หนึ่งในกิจกรรมเวิร์คชอปที่ สถาบันเพื่อการยุติธรรมแห่งประเทศไทย (TIJ) กับ The Institute for Global Law and Policy มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ร่วมกันจัดขึ้น
กานต์ธีรา ภูริวิกรัย เก็บความจากเวิร์คชอป ‘TIJ-IGLP Workshop for Emerging Leaders’ ที่มีนักวิชาการด้านกฎหมายระดับโลก มาบรรยายเรื่องการปฏิรูปกระบวนการยุติธรรม โดยยกกรณีศึกษาทั้งในไทยและต่างประเทศที่น่าสนใจ และสะท้อนให้เห็นถึง ‘ความหวัง’ ที่ปลายอุโมงค์
101 สนทนากับ Glenn Fajardo ผู้เชี่ยวชาญด้าน design thinking และเป็นผู้สอนรวมถึงออกแบบหลักสูตร design across border ที่ Stanford d.school เกี่ยวกับแก่นและการประยุกต์ใช้แนวคิดดังกล่าวในการแก้ปัญหาสังคม
กานต์ธีรา ภูริวิกรัย คุยกับ กันต์รวี กิตยารักษ์ ผู้อยู่เบื้องหลังงาน ‘Youth Borderless Forum’ ที่คัดเลือกเยาวชนจากทั่วโลก มาร่วมเวิร์คชอปเรื่องหลักนิติธรรมและกระบวนการยุติธรรม ว่าด้วยที่มาที่ไปและผลลัพธ์จากงานในครั้งนี้
อาร์ม ตั้งนิรันดร คุยกับ เดวิด เคนเนดี้ แห่งคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ว่าด้วยหลักนิติธรรมในโลกยุคใหม่
สรุปความจากงานเสวนา ‘จากเรือนจำสู่ชุมชน : ลดช่องว่าง สร้างโอกาส และเสริมสร้างความยุติธรรมในสังคม’ จัดโดย สถาบันเพื่อการยุติธรรมแห่งประเทศไทย (TIJ) ว่าด้วยประเด็น Beyond Prison – การสร้างโอกาสและส่งเสริมการกลับสู่สังคม
เก็บความจากงานเสวนาเนื่องในโอกาสครบรอบ 8 ปี ข้อกำหนดกรุงเทพ ในหัวข้อ ‘จากเรือนจำสู่ชุมชน : ลดช่องว่าง สร้างโอกาส และเสริมสร้างความยุติธรรมในสังคม’ ที่จัดโดย สถาบันเพื่อการยุติธรรมแห่งประเทศไทย (TIJ) พูดถึงประเด็นนี้ไว้อย่างน่าสนใจ คือ Besides Prison – อนาคตของการใช้มาตรการที่มิใช่การคุมขังในประเทศไทย
กานต์ธีรา ภูริวิกรัย เก็บความจากเสวนา “จากเรือนจำสู่ชุมชน: ลดช่องว่าง สร้างโอกาส และเสริมสร้างความยุติธรรมในสังคม” ว่าด้วยโมเดลและทางเลือกใหม่ๆ ในการดูแลผู้ต้องขังแบบครบวงจร ทั้งในและนอกเรือนจำ โดยเฉพาะกลุ่มผู้ต้องขังหญิงที่ถูกทอดทิ้งมายาวนาน
ธิติ มีแต้ม บันทึก Photo essay ในแดนหญิงของเรือนจำจังหวัดอยุธยา เพิ่อฉายให้เห็นการเปิดโอกาสให้ผู้ต้องขังมีสามารถมีคุณภาพชีวิตที่ดีได้แม้ว่าต้องโทษ ถูกจำกัดอิสรภาพ
ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย ถ่ายทอดเรื่องราวสะเทือนใจของหญิงสาวที่ถูกละเมิดทางเพศ พร้อมชำแหละต้นตอของปัญหาที่เกิดจากมายาคติของสังคม และช่องโหว่ในกระบวนการยุติธรรม
คุยกับ ‘ชลธิช ชื่นอุระ’ ว่าด้วยโลกของเรือนจำหญิง และเหยื่อที่ถูกทิ้งไว้ข้างหลัง ผ่านงานวิจัยที่เผยให้เห็นสภาวะปัจจุบันของ ‘ระบบยุติธรรมไทย’ ซึ่งมีทั้งช่องโหว่และโอกาส
กิจการเพื่อสังคมเป็นอีกเครื่องมือหนึ่งที่ใช้แก้ปัญหาสังคม แต่ในไทยมีความท้าทายที่ยังไม่สามารถประคองธุรกิจให้ยั่งยืนได้ จึงเกิดกฎหมายส่งเสริมวิสาหกิจเพื่อสังคมเพื่อเป็นกลไกหนึ่งในการสร้างระบบนิเวศที่เหมาะสมในการเติบโตของกิจการเพื่อสังคม
กานต์ธีรา ภูริวิกรัย เก็บความจากวงเสวนา ‘Open Data และ AI เพื่อความยุติธรรมที่ประชาชนมีส่วนร่วม’ ว่าด้วยการใช้ Open Data และ AI ในการส่งเสริมและพัฒนากระบวนการยุติธรรม และการสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชน
ระบบ Recommend จะคัดสรรบทความและสื่อสร้างสรรค์ต่างๆ ที่คุณสนใจ มาให้คุณเลือกในหน้าโปรไฟล์ส่วนตัวของคุณ ให้คุณไม่พลาดทุกเนื้อหาที่คัดมาสำหรับคุณโดยเฉพาะ
คุณสามารถบันทึกบทความแบบ Read Later โดยคลิกที่ปุ่ม Bookmark Icon หรือจะเก็บบทความที่ชื่นชอบเป็นการส่วนตัวไว้ในหมวด Favorite โดยคลิกที่ปุ่ม Favorite Icon เพื่อกลับมาอ่านในภายหลัง
เพียงคุณลงชื่อเข้าใช้ ระบบจะจดจำตัวเลือกฟอนต์และธีมสีที่คุณเคยเลือก ให้คุณอ่านและรับชมทุกเนื้อหาอย่างเต็มที่ สบายตาและเพลิดเพลินใจในแบบที่เหมาะกับคุณ ไม่ว่าจะใช้งานบนคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต หรือสมาร์ตโฟน
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า