เปลี่ยนกระทรวงวัฒนธรรมเกรดซี ให้เป็นหัวหอกของซอฟต์พาวเวอร์
วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ เขียนถึงภาพจำกระทรวงวัฒนธรรมในสายตานักการเมืองไทย ซึ่งต่างจากประเทศเกาหลีที่มองบทบาทของกระทรวงนี้ในฐานะซอฟต์พาวเวอร์

วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ เขียนถึงภาพจำกระทรวงวัฒนธรรมในสายตานักการเมืองไทย ซึ่งต่างจากประเทศเกาหลีที่มองบทบาทของกระทรวงนี้ในฐานะซอฟต์พาวเวอร์
สำรวจนโยบายว่าด้วย Soft Power และประเด็นเชิงศิลปวัฒนธรรมในสนามเลือกตั้งที่จะถึงนี้ ว่าแต่ละพรรคนำเสนอประเด็นไหนบ้าง อุปสรรคใหญ่คืออะไร และเราจะ ‘ขยับขยาย’ ขอบเขตของ ‘จินตนาการ’ ทางความสร้างสรรค์นี้ได้หรือไม่ในประเทศซึ่งรากเผด็จการหยั่งรากลงลึกเช่นนี้
อะไรทำให้ ‘ซอฟต์พาวเวอร์’ แบบไทยๆ ไม่ไปไหนไกลสักที นิติ ภวัครพันธุ์ ชวนสำรวจกลไกในการสร้างซอฟต์พาวเวอร์ที่ผูกโยงกับสังคม การเมือง และเสรีภาพอย่างแยกออกไม่ขาด -และอาจเป็นเหตุผลว่าทำไมซอฟต์พาวเวอร์ในไทยจึงเป็นได้เพียงความฝันที่เรายังไปไม่ถึงสักที
ปิติ ศรีแสงนาม เขียนถึงแนวทางการพัฒนา Soft Power ของไทย ผ่านกิจการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรม (อววน.)
ในวาระเฉลิมฉลองปีแห่ง Queen Platinum Jubilee สมชัย สุวรรณบรรณ เขียนถึงอิทธิพลของราชวงศ์วินด์เซอร์ในฐานะซอฟต์พาวเวอร์ที่เริ่มเปลี่ยนไปในสายตาประเทศเครือจักรภพ
กระแสข้าวเหนียวมะม่วงของมิลลินอกจากเป็นการฉายภาพความหวังถึงการสร้างซอฟต์พาวเวอร์ไทยแล้ว ยังแสดงให้เห็นการต่อต้านวัฒนธรรมที่ถูกสร้างขึ้นจากมุมมองของรัฐ และสร้างพื้นที่การนำเสนอวัฒนธรรมผ่านมุมมองของประชาชน
ธีวินท์ สุพุทธิกุล วิเคราะห์วาทกรรม ‘มือที่สาม’ ซึ่งเป็นหนึ่งในยุทธศาสตร์ของจีน เพื่อสร้างภาพพจน์และส่งเสริมอำนาจจีนในเวทีการเมืองระหว่างประเทศ
ศุภวิชญ์ แก้งคูนอก เขียนถึง เส้นทางของ ‘เศรษฐกิจโยคะ’ ที่พัฒนาจากแนวทางการบริหารกายและจิต และจนไปสู่ อุตสาหกรรมที่สร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจระดับมหาศาลให้กับอินเดีย รวมทั้งช่วยสร้างภาพลักษณ์อินเดียในฐานะผู้นำด้านการบริการทางสุขภาพ
คุยเรื่องหนังและซีรีส์เกาหลี กับ ‘จักรกริช สังขมณี’ สำรวจบาดแผลทางประวัติศาสตร์ การเปลี่ยนแปลงของสังคมเกาหลีร่วมสมัย และความเป็นไปได้ในการรวมชาติในอนาคต
ธีรภัทร เจริญสุข เยือนสุสานของศิลปินอมตะ ‘เติ้งลี่จวิน’ พร้อมพาเราย้อนไปสำรวจชีวิต ผลงาน และจุดยืนทางการเมืองของเธอ ในช่วงเวลาที่ความตึงเครียดบริเวณช่องแคบไต้หวันปะทุขึ้นมาอีกครั้ง
ระบบ Recommend จะคัดสรรบทความและสื่อสร้างสรรค์ต่างๆ ที่คุณสนใจ มาให้คุณเลือกในหน้าโปรไฟล์ส่วนตัวของคุณ ให้คุณไม่พลาดทุกเนื้อหาที่คัดมาสำหรับคุณโดยเฉพาะ
คุณสามารถบันทึกบทความแบบ Read Later โดยคลิกที่ปุ่ม Bookmark Icon หรือจะเก็บบทความที่ชื่นชอบเป็นการส่วนตัวไว้ในหมวด Favorite โดยคลิกที่ปุ่ม Favorite Icon เพื่อกลับมาอ่านในภายหลัง
เพียงคุณลงชื่อเข้าใช้ ระบบจะจดจำตัวเลือกฟอนต์และธีมสีที่คุณเคยเลือก ให้คุณอ่านและรับชมทุกเนื้อหาอย่างเต็มที่ สบายตาและเพลิดเพลินใจในแบบที่เหมาะกับคุณ ไม่ว่าจะใช้งานบนคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต หรือสมาร์ตโฟน
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า