fbpx

Trends

6 Oct 2017

เมื่อ E-Commerce กลายเป็นอดีต และ O2O คืออนาคต

อาร์ม ตั้งนิรันดร เล่าอนาคตของวงการค้าปลีกที่กำลังมาแรงทั้งในจีนและสหรัฐอเมริกา นั่นคือ O2O (Online to Offline) โมเดลธุรกิจที่ไม่ใช่ห้างสรรพสินค้าหรือร้านค้ารูปแบบเดิม แต่ก็ไม่ใช่ E-Commerce ในโลกออนไลน์เท่านั้น แล้วมันคืออะไรกันแน่?

อาร์ม ตั้งนิรันดร

6 Oct 2017

Global Affairs

1 Sep 2017

“กับดักธูสิดีดิส” แห่งศตวรรษที่ 21 : การเปลี่ยนผ่านอำนาจโลกอย่าง(ไร้)สันติ? 

จิตติภัทร พูนขำ วิเคราะห์หนึ่งในโจทย์สำคัญที่สุดของระเบียบโลกในศตวรรษที่ 21 – สหรัฐฯ และจีนจะก้าวข้าม “กับดักธูสิดีดิส” จนเกิดการเปลี่ยนผ่านอำนาจโลกอย่างสันติได้หรือไม่

จิตติภัทร พูนขำ

1 Sep 2017

Business

20 Jul 2017

เปิดมุมมองวงการไอที สื่อใหม่ และธุรกิจไทย กับ อิสริยะ ไพรีพ่ายฤทธิ์

101 ชวน อิสริยะ ไพรีพ่ายฤทธิ์ แห่ง Blognone, Brand Inside และ Siam Intelligence Unit (SIU) มองโลกที่เปลี่ยนแปลง ผ่านแว่นตาของคนไอทียุคเปลี่ยนผ่าน เพื่อจับกระแสและถอดบทเรียนในวงการไอที วงการสื่อ และวงการธุรกิจไทย

ภัทชา ด้วงกลัด

20 Jul 2017

Issue of the Age

14 Jun 2017

e-Residency “สาธารณรัฐคนกันเอง” ความฝันใหญ่ของเอสโตเนีย

ธีรภัทร เจริญสุข ชวนติดตามเรื่องราวของ ‘เอสโตเนีย’ ในตอนที่ 2 กับแง่มุมของการเป็น ‘ผู้พำนักในระบบอิเล็กทรอนิกส์’ หรือ e-Residency ที่เปิดโอกาสให้ทุกคนสามารถสมัครเป็น ‘พลเมืองดิจิทัล’ ของเอสโตเนียได้ ใครอยากลองเป็นพลเมืองดิจิทัล พลาดไม่ได้!

ธีรภัทร เจริญสุข

14 Jun 2017

Issue of the Age

9 Jun 2017

พยัคฆ์ทะยาน โครงการก้าวกระโดดแบบเอสโตเนีย จิตวิญญาณสตาร์ทอัพระดับประเทศ

ธีรภัทร เจริญสุข พาเราไปสำรวจความก้าวหน้าของเอสโตเนีย ประเทศที่เรียกได้ว่าเป็น Startup Country ในทุกมิติ

ธีรภัทร เจริญสุข

9 Jun 2017

Global Affairs

26 May 2017

เส้นทางสายไหมใหม่: ภูมิรัฐศาสตร์มหาเกมในยูเรเชีย

“เส้นทางสายไหมใหม่” ไม่ใช่แค่เรื่องการพัฒนาเศรษฐกิจและโครงสร้างพื้นฐานเท่านั้น จิตติภัทร พูนขำ สวมแว่น “ภูมิรัฐศาสตร์โลก” เพื่อวิเคราะห์เส้นทางสายไหมใหม่ในฐานะการแข่งขันระหว่างมหาอำนาจระดับโลก ทั้งสหรัฐอเมริกาและจีน ในกระดาน “มหาเกม” (great game) แห่งยูเรเชีย

จิตติภัทร พูนขำ

26 May 2017

Global Affairs

24 May 2017

พลเรือนควบคุมทหาร : หนทางสู่ประชาธิปไตยที่มีเสถียรภาพ

พลอย ธรรมาภิรานนท์ สำรวจข้อถกเถียงเรื่องการปฏิรูปกองทัพ ทำอย่างไรให้กองทัพอยู่ภายใต้การควบคุมของรัฐบาลพลเรือนเพื่อสร้างประชาธิปไตยที่มีเสถียรภาพ

พลอย ธรรมาภิรานนท์

24 May 2017

China

5 May 2017

ยุทธศาสตร์ Jing-Jin-Ji: ภาพอนาคตประเทศจีน

รัฐบาลจีนกำลังคิดการใหญ่กับ “ยุทธศาสตร์ Jing-Jin-Ji” ซึ่งเป็นแนวคิดเชื่อมโยงมหานครปักกิ่ง และมหานครเทียนจิน เข้ากับเมืองใหญ่ 11 เมืองของมณฑลเหอเป่ย โดยรัฐบาลจีนจะลงทุนสร้างรถไฟความเร็วสูง เพื่อให้การเดินทางจากเมืองใหญ่แต่ละแห่งในมณฑลเหอเป่ย เข้าสู่ปักกิ่งหรือเทียนจินใช้เวลาไม่เกิน 1 ชั่วโมง

หากแผนการสำเร็จ จะทำให้เกิด “อภิมหานคร” ที่กินพื้นที่และประชากรมากที่สุดในประวัติศาสตร์โลก ด้วยพื้นที่เขตเมืองทั้งสิ้นรวม 212,000 ตารางกิโลเมตร คิดเป็น 40% ของพื้นที่ประเทศไทย โดยมีประชากรอาศัยในเขตเมืองที่เชื่อมต่อถึงกันรวม 130 ล้านคน ซึ่งมากกว่าจำนวนประชากรของประเทศไทยหนึ่งเท่าตัว

อาร์ม ตั้งนิรันดร เขียนเล่าเบื้องหลังความคิดของยุทธศาสตร์แห่งอนาคตของรัฐบาลจีน ที่จะทำให้สำนวนเก่าในนิยายรักของจีนที่ว่า “ห่างกันหมื่นลี้ แต่เหมือนอยู่ใกล้ชิดกัน” เป็นความจริง

อาร์ม ตั้งนิรันดร

5 May 2017

Global Affairs

28 Apr 2017

ความสัมพันธ์สหรัฐฯ และรัสเซีย: ข้าม(ไม่)พ้น ความตึงเครียดร้าวลึก?

“รัสเซีย” เป็นหนึ่งในประเด็นด้านการเมืองและนโยบายต่างประเทศที่ร้อนแรงที่สุดในยุคโดนัลด์ ทรัมป์

ตั้งแต่การแฮกอีเมลพรรคเดโมแครต ข้อครหาเรื่องการแทรกแซงการเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐฯ จนทำให้ทรัมป์ได้รับชัยชนะ วาทศิลป์ช่วงหาเสียงของทรัมป์ที่ดูเหมือนจะ “นิยมปูติน” เกินงาม จนถึงการโจมตีทางอากาศของสหรัฐฯ ต่อซีเรีย พันธมิตรสำคัญของรัสเซีย

อนาคตความสัมพันธ์ระหว่างสหรัฐฯ และรัสเซีย จะเดินต่อไปบนเส้นทางใด ผู้นำอย่างทรัมป์และปูตินจะจับมือก้าวข้ามความตึงเครียดร้าวลึกที่คุกรุ่นตั้งแต่หลังสงครามเย็นได้หรือไม่

จิตติภัทร พูนขำ เล่าเบื้องลึกเบื้องหลังและที่มาที่ไปเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างสหรัฐฯ และรัสเซีย ใครอยากเข้าใจปมความขัดแย้งระหว่างสองประเทศ พลาดไม่ได้!

จิตติภัทร พูนขำ

28 Apr 2017

Lifestyle

24 Apr 2017

เมื่อคุณพ่อคุณแม่เอาแต่เล่นมือถือ : สำรวจการใช้โซเชียลของคนยุค Baby Boomer

เคยสังเกตกันไหมว่า เดี๋ยวนี้คนรุ่นพ่อรุ่นแม่เริ่มจะติดโซเชียลหนักขึ้นทุกวันๆ แถมยังใช้งานได้คล่องแคล่วไม่แพ้คนรุ่นลูกรุ่นหลาน บทความนี้จะชวนไปสำรวจการใช้โซเชียลมีเดียของคนกลุ่ม Baby Boomer ว่ามีที่มาที่ไปอย่างไรบ้าง

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล

24 Apr 2017

Political Economy

24 Apr 2017

Global Inequality

สฤณี อาชวานันทกุล ชวนอ่าน “กราฟช้าง” ของ Branko Milanović หนึ่งในกราฟแห่งยุคสมัยที่อธิบายสถานการณ์ความเหลื่อมล้ำระดับโลกได้ดีที่สุด

ใครได้ประโยชน์ ใครเสียประโยชน์ จากเศรษฐกิจโลกาภิวัตน์ร่วมสมัย สฤณีนำคำตอบจากหนังสือ Global Inequality ของ Milanović มาเล่าสู่กันอ่าน

สฤณี อาชวานันทกุล

24 Apr 2017

City

18 Apr 2017

ย้ายไคโร : เมื่อจีนบุกอียิปต์-มาช่วยสร้างเมืองหลวงใหม่

อีกไม่นาน ไคโร-เมืองหลวงเก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก จะไม่ใช่เมืองหลวงของอียิปต์อีกต่อไปแล้ว เพราะอียิปต์มีแผนจะย้ายเมืองหลวงไปอยู่ใน ‘เมืองใหม่’ อีกแห่ง แต่ปัญหาก็คือ การย้ายเมืองหลวงต้องใช้เงินมหาศาล คำถามก็คือ อียิปต์จะเอาเงินมาจากไหน
แน่นอน-เรื่องนี้พี่เบิ้มทางเศรษฐกิจรายใหม่ของโลกต้องยื่นมือเข้ามาแน่ๆ ก็พี่จีนนั่นไง!

กองบรรณาธิการ

18 Apr 2017

Political Economy

17 Apr 2017

ทำไมบอลพรีเมียร์ลีกสนุก แต่ทีมชาติอังกฤษล้มเหลว: มองโมเดลทุนนิยมผ่านโลกฟุตบอล

วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร ชวนดูฟุตบอล แล้วย้อนดูทุนนิยม วิถีฟุตบอลอังกฤษและเยอรมนีสอนเราเรื่องทางเลือกและความหลากหลายของระบบทุนนิยมอย่างไร หาคำตอบได้จากข้อเขียนอ่านสนุกชิ้นนี้

วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร

17 Apr 2017

Trends

13 Apr 2017

เปิดเคล็ดลับแผนธุรกิจปฏิวัติโลก

เทคโนโลยีเพียงอย่างเดียวไม่สามารถปฏิวัติโลกแห่งธุรกิจ หรือช่วย ‘ยักษ์ใหม่’ ล้ม ‘ยักษ์ใหญ่’ ได้

‘แผนธุรกิจ’ หรือ Business Plan ต่างหากที่มีความสำคัญ อิสริยะ สัตกุลพิบูลย์ เปิดผลการศึกษาของทีมนักวิจัยมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ เผยเคล็ดลับหกประการของแผนธุรกิจระดับปฏิวัติโลก

อิสริยะ สัตกุลพิบูลย์

13 Apr 2017
1 2 3 4

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save