fbpx

Global Affairs

25 Apr 2017

ต้าน “ผู้นำอย่างทรัมป์” ด้วยนวัตกรรมประชาธิปไตย

จันจิรา สมบัติพูนศิริ สำรวจ “จุดอ่อน” ขบวนการต้านทรัมป์และผองเพื่อนผู้นำการเมืองขวาประชานิยม

ทำไมพวกลิเบอรัลอาจเคลื่อนไหวต่อต้านคนอย่างทรัมป์ไม่สำเร็จ แถมกลับยิ่งทำให้พวกเขาเข้มแข็งขึ้นไปอีก … แล้วเราจะสู้กับผู้นำขวาประชานิยมอย่างทรัมป์อย่างไรดี?

จันจิรา สมบัติพูนศิริ

25 Apr 2017

Education

20 Apr 2017

อีกด้านหนึ่งบนขั้วโลกของเพนกวิน – พริษฐ์ ชิวารักษ์

ชวนสำรวจความคิดและตัวตนของ เพนกวิน – พริษฐ์ ชิวารักษ์ ที่คุณอาจคุ้นหน้าของเขาในภาพของนักกิจกรรมอายุน้อยที่ดูซีเรียสกับประเด็นสังคมไปเสียทุกเรื่อง แต่บทสนทนาชิ้นนี้จะทำให้เราได้เห็นอีกมุมหนึ่งของเพนกวิน ในฐานะของเด็กวัยรุ่นธรรมดา ที่มีชีวิตไม่ต่างอะไรกับเพื่อนในวัยเดียวกัน

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Apr 2017

Thai Politics

20 Apr 2017

อันวาร์ ปาตานี แม่น้ำจระเข้

หลังจากได้รับอิสรภาพ “อันวาร์” เล่าให้เราฟังว่าทหารมาขอจับมือด้วยรอยยิ้มและถามว่าเป็นมือยิงหรือมือวาง !

คงไม่ใช่เรื่องน่าสนุกนัก หากชีวิตคนหนุ่มคนหนึ่งในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ทำหน้าที่สื่อมวลชนอิสระ และนักเคลื่อนไหวสันติภาพในบ้านเกิดตัวเอง กลับถูกคุมขังในคดีอั้งยี่ซ่องโจร เป็นแนวร่วมก่อการร้าย และได้รับการพ่วงเป็นแกนนำก่อจลาจลเผาคุกจากฝ่ายความมั่นคงในเวลาต่อมา

มีกุญแจหลายดอกที่ช่วยไขเหตุการณ์ความไม่สงบที่สามารถนำไปสู่ความเข้าใจอันเป็นพื้นฐานของสันติสุขได้ “อันวาร์” อาจเป็นกุญแจดอกหนึ่ง

“อันวาร์” คือใคร ชีวิตชายหนุ่มคนหนึ่งเป็นภาพสะท้อนของปัญหาสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ความมั่นคง และกระบวนการยุติธรรมอย่างไร

“ธิติ มีแต้ม” ส่งมอบกุญแจให้อยู่ในมือคุณแล้ว เชิญไขได้ตามอัธยาศัย

ธิติ มีแต้ม

20 Apr 2017

Thai Politics

19 Apr 2017

เรื่องที่จำต้องเล่าขานกันอีก จนกว่า…

เวียง-วชิระ บัวสนธ์ บรรณาธิการสำนักพิมพ์สามัญชน ประเดิมคอลัมน์ใหม่กับ 101 ด้วยการเล่านิทานเรื่อง ‘ไผ่ ดาวดิน’

“… ผมคิดว่าถึงเวลาแล้วที่เราควรปรับสภาพจิตให้สอดคล้องกับสภาพการณ์ตามความเป็นจริงให้ได้ว่า ทุกวันนี้ใครหรือผู้ใดควบคุมประเทศนี้อยู่ พูดให้ชัดขึ้นคงต้องเรียนว่า ความไม่ชอบมาพากลชนิดที่ยกหลักกฎหมายใดมาอธิบายก็ฟังไม่ขึ้นในกรณีของไผ่นี้ เราจำต้องปรับมุมมองใหม่ไม่ว่าจะชอบใจหรือไม่ ว่ามันอยู่นอกเหนือกระบวนการปกติชอบธรรมไปแล้วแน่ๆ …

“… ยิ่งเรานิ่งเฉยไม่มีปากไม่มีเสียงอะไรเอาเสียเลย ยิ่งเท่ากับสมเป้าปรารถนาที่บรรดาผู้ครองเมืองต่างต้องการ”

เวียง วชิระ บัวสนธ์

19 Apr 2017

Thai Politics

12 Apr 2017

สื่อมวลชนไทยในสถานการณ์ปฏิรูปสื่อ

“เมื่อประชาชนอ่อนแอ สื่อมวลชนก็อ่อนล้า”

101 เลยชวน อายุษ ประทีป ณ ถลาง “นายประชา ช้ำชอก” กลับมาจับปากกา เขียนเรื่องแวดวงการเมือง สังคม และสื่อมวลชนไทยอีกครั้ง หลังจากก้าวออกจากวงการสื่อไปพักใหญ่

อดีตบรรณาธิการข่าวหนังสือพิมพ์แนวหน้า สยามโพสต์ และไทยโพสต์ ประเดิมคอลัมน์ตอนแรกด้วยการวิพากษ์แนวทางการปฏิรูปสื่อ ในยุคสมัยแห่งความเสื่อมถอยตกต่ำเป็นประวัติการณ์ของสื่อมวลชนไทย

อายุษ ประทีป ณ ถลาง

12 Apr 2017

Politics

12 Apr 2017

“จ่านิวและป๋วย”: สมมติเสวนาว่าด้วยเสรีภาพในมโนธรรม การเกณฑ์ทหาร และการรับใช้ชาติ

ถ้าจ่านิวชวนอาจารย์ป๋วยถาม-ตอบเรื่องการเกณฑ์ทหาร ทั้งคู่จะคุยอะไรกัน!?

สมชาย ปรีชาศิลปกุล คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ลองเขียน “สมมติสนทนา” ระหว่างจ่านิวและอาจารย์ป๋วยเรื่องเสรีภาพในมโนธรรม การเกณฑ์ทหาร และการรับใช้ชาติ ให้อ่านกัน

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

12 Apr 2017

World

31 Mar 2017

ประชานิยมในยุโรป: อเสรีนิยม VS เสรีนิยม(ใหม่)ที่ไร้ประชาธิปไตย

จิตติภัทร พูนขำ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วิเคราะห์กระแสประชานิยมในยุโรป ประชานิยมเป็นปีศาจร้ายตัวใหม่ หรือมันช่วยเปิดประเด็นให้เรามองเห็นอะไรชัดขึ้น

ประชานิยมเป็นคำตอบของวิกฤตเสรีนิยมใหม่หรือไม่ ถ้าไม่ใช่ อะไรคือคำตอบที่ควรจะเป็น

จิตติภัทร พูนขำ

31 Mar 2017

Thai Politics

23 Mar 2017

ทำไมคนชั้นกลางไทยถึงหันหลังให้ประชาธิปไตย

ธร ปีติดล กับ ชานนทร์ เตชะสุนทรวัฒน์ สองอาจารย์หนุ่มจากคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ คุยกับ สมคิด พุทธศรี กองบรรณาธิการ 101 เปิดงานวิจัยใหม่สด ไขปริศนา “ทำไมคนชั้นกลางระดับบนของไทยถึงหันหลังให้ประชาธิปไตย” ที่นี่ที่แรก!

สมคิด พุทธศรี

23 Mar 2017

Life & Culture

22 Mar 2017

ประวัติศาสตร์ความสุข 5 ยุค : จากยุคหินถึงยุคนี้!

คุณว่า ‘ความสุข’ เป็นเรื่องสากลหรือเปล่า ความสุขคือสภาวะที่สถิตย์นิ่ง เข้าถึงได้แล้วก็สุขีสุโข หรือความสุขเป็นสิ่งที่เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดประวัติศาสตร์ของมนุษย์ ตามแต่มนุษย์ในแต่ละยุคจะ ‘ให้ความหมาย’ กับมันกันแน่ ลองไปดูกันว่าความสุขในแต่ละยุคในประวัติศาสตร์ของมนุษย์เป็นอย่างไร

วชิรวิทย์ คงคาลัย

22 Mar 2017

Political Economy

20 Mar 2017

ตื่นตัวทางการเมือง แสนเชื่องเรื่องเศรษฐกิจ?

เรื่องเศรษฐกิจมีผลต่อประชาชนทุกคน แต่ทำไมมักถูกทอดทิ้งให้อยู่ในมือของ “ผู้เชี่ยวชาญ” ถ้าเช่นนั้น เราจะทำอย่างไรให้ active citizen กลายเป็น active economic citizen ไปด้วย

วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร

20 Mar 2017

Global Affairs

17 Mar 2017

โลกเอียงขวา ประชานิยม และอนาคตประชาธิปไตย

จาก Brexit สู่ทรัมป์ ถึงเลอ เพน … กระแส “ขวาประชานิยม” กำลังครองโลก

จันจิรา สมบัติพูนศิริ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ชวนตั้งคำถามถึงการเมืองเรื่องซ้าย-ขวา และประชานิยม ค้นหาคำอธิบายสาเหตุของ “โลกหันขวา” ทั้งในมิติวัฒนธรรมและเศรษฐกิจ และสำรวจสารพัดคำถามใหม่ที่ท้าทายโลกยุคเอียงขวา

โลกจะเดินต่ออย่างไรบนทางแพร่งแห่งอนาคตของเสรีนิยมประชาธิปไตย

จันจิรา สมบัติพูนศิริ

17 Mar 2017

Thai Politics

17 Mar 2017

มาส่งเสริมวัฒนธรรมการเมืองกันเถอะ (เอ๊ะ! ทำไมแอบกลัว!)

เมื่อไม่นานมานี้ มีข่าวคราวกฎหมาย ‘พระราชบัญญัติส่งเสริมวัฒนธรรมประชาธิปไตยฯ’ ดังขึ้นมาให้ได้ยิน อูย! ฟังดูดี แต่มันจะ ‘ดีจริง’ อย่างที่คิดหรือเปล่า ไปติดตามกัน

วชิรวิทย์ คงคาลัย

17 Mar 2017

Thai Politics

17 Mar 2017

เปลี่ยนเผด็จการผ่านสู่ประชาธิปไตย-ง่ายเสียที่ไหน!

ใครๆ (ใช่-ทุกคนนั่นแหละ) ก็บอกว่าอยากปกครองแบบประชาธิปไตย การได้มาซึ่งประชาธิปไตยนั้น มันไม่ง่ายอย่างที่คิดนี่สิ แต่ละสังคมมี ‘กระบวนท่า’ เปลี่ยนผ่านตัวเอง ในอันที่จะขยับตัวลุกจากการปกครองที่ ‘ไม่ประชาธิปไตย’ ไปสู่ระบอบการปกครองที่เป็นประธิปไตยมากขึ้น ไปดูกันไหม ว่าการเปลี่ยนผ่านจากเผด็จการอำนาจนิยมสู่ประชาธิปไตยในแต่ละสังคมนั้น มันมี ‘ขั้นตอน’ อะไรบ้าง

วชิรวิทย์ คงคาลัย

17 Mar 2017

China

17 Mar 2017

เคล็ดวิชารักษาอำนาจของรัฐบาลเผด็จการ

เผด็จการในโลกยุคโซเชียลมีเคล็ดวิชารักษาอำนาจอย่างไร? รัฐบาลอาจไม่ได้ตั้งหน้าตั้งตาไล่เซ็นเซอร์คนคิดต่าง แต่มีวิธีปั่นหัวคุณด้วยวิธีที่คาดไม่ถึง อาร์ม ตั้งนิรันดร อาจารย์คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้สนใจอ่าน-เขียน-เรียนเรื่องจีน เปิดงานวิจัยว่าด้วยวิธีรักษาอำนาจของรัฐบาลจีน แล้วแอบนำเทคนิคทางการเมืองของรัฐบาลเผด็จการมาเล่าสู่ให้รู้ทัน!

อาร์ม ตั้งนิรันดร

17 Mar 2017
1 4 5 6

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save