fbpx

Media

27 Oct 2023

101 In Focus EP.201: บทบาทสตรีไทยที่ประวัติศาสตร์ฉบับปิตาธิปไตยไม่เคยกล่าวถึง

101 In Focus Ep.201 ในปีนี้ที่เหตุการณ์ 6 ตุลาฯ เวียนมาบรรจบครบรอบ 47 ปี ขอชวนคุณผู้ฟังย้อนดูบทบาทของผู้หญิงทั้งในครั้งการปฏิวัติ 2475 ไปจนถึงในเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 และ 6 ตุลาคม 2519 ที่ประวัติศาสตร์ไทยไม่เคยจารึกถึง

กองบรรณาธิการ

27 Oct 2023

Politics

24 Oct 2023

14 ตุลา ถึง 6 ตุลา กับการต่อสู้ของผู้หญิงที่ไม่เคยได้รับการจารึกในหน้าประวัติศาสตร์

ภัคจิรา มาตาพิทักษ์ เขียนถึงบทบาทของสตรีในเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 และ 6 ตุลาคม 2519 ที่ประวัติศาสตร์ไทยไม่เคยจารึกถึงผู้หญิงเดือนตุลา

ภัคจิรา มาตาพิทักษ์

24 Oct 2023

Thai Politics

12 Oct 2023

จาก 14 ตุลาฯ ถึง 6 ตุลาฯ: การปรากฏขึ้นของความคิดเหมาอิสม์ในปัญญาชนไทยและรายงานการสดับตรับฟังของสันติบาล

รวินทร์ คำโพธิ์ทอง ชวนมองความเปลี่ยนแปลงช่วง 14 ตุลาฯ 2516 ถึง 6 ตุลาฯ 2519 ที่ความคิดฝ่ายซ้ายปรากฏตัวในขบวนการนักศึกษา โดยเฉพาะการจัด ‘นิทรรศการจีนแดง’ ในปี 2517

รวินทร์ คำโพธิ์ทอง

12 Oct 2023

Media

29 Sep 2023

101 One-on-one Ep.311 ‘ตุลาฯ สนทนา’ กับ ใบตองแห้ง-อธึกกิต แสวงสุข

101 ชวน – ใบตองแห้ง – อธึกกิต แสวงสุข วิเคราะห์การเมืองไทย สนทนาอีกครั้งเพื่อทบทวนและให้ความหมายใหม่กับการเมืองในเดือนตุลาฯ ในว้นที่การเปลี่ยนผ่านประชาธิปไตยยังคงเป็นคำถามใหญ่ของสังคม

101 One-on-One

29 Sep 2023

Politics

10 Nov 2022

ความฝันเดือนตุลาของเยาวรุ่น ปี 2517 ในหนังสือสมานมิตร ฉบับศึก

รวินทร์ คำโพธิ์ทอง ชวนมองความคิดของเยาวชนช่วงหลังเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ผ่าน ‘สมานมิตร’ หนังสือประจำปีของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ซึ่งขณะนั้นมี สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล เป็นประธานนักเรียน

รวินทร์ คำโพธิ์ทอง

10 Nov 2022

Thai Politics

2 Nov 2022

“เขาหาว่าแม่ฉันเป็นผู้หญิงหากิน” การแจ้งเกิดของวัฒน์ วรรลยางกูรในนิตยสารยานเกราะ

อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ เขียนถึงจังหวะชีวิตของวัฒน์ วรรลยางกูรกับนิตยสารยานเกราะ ที่เป็นทั้งนิตยสารแจ้งเกิดเส้นทางนักเขียนและผลักให้เขาต้องหลบลี้ภัยการเมืองเมื่อ 6 ตุลาคม 2519

อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ

2 Nov 2022

Thai Politics

1 Nov 2022

ประวัติศาสตร์ ความทรงจำ และ 6 ตุลาฯ ที่อยากจำแต่กลับลืม

อติเทพ ไชยสิทธิ์ เขียนถึงการจัดการกับความทรงจำร่วมในสังคมไทยอย่างเหตุการณ์ 6 ตุลา ว่าทำไมการรำลึกจึงอาจถือว่าเป็นการลืมรูปแบบหนึ่ง และเราควรจะจดจำเหตุการณ์ความรุนแรงในอดีตอย่างไร

อติเทพ ไชยสิทธิ์

1 Nov 2022

Politics

14 Oct 2022

ภาพ “หลอน”

ธนาวิ โชติประดิษฐ เขียนถึงนิทรรศการ ‘6 ตุลา เผชิญหน้ากับปีศาจ’ ที่ใช้ภาพถ่ายร่วมกันเล่าเรื่องราว พาเรากลับไปสัมผัสประวัติศาสตร์บาดแผลของสังคมไทย

ธนาวิ โชติประดิษฐ

14 Oct 2022

Thai Politics

13 Oct 2022

“ไม่ว่ะ คนรุ่นใหม่บางกลุ่มก็ไม่ได้ตื่นตัวทางการเมืองมากขนาดนั้นแล้ว” ว่าด้วย 6 ตุลาฯ และ ทานตะวัน ตัวตุลานนท์

สนทนากับ ตะวัน-ทานตะวัน ตัวตุลานนท์ นักเคลื่อนไหวและนักกิจกรรมทางการเมือง กับเหตุการณ์ 6 ตุลาฯ ในสายตาของคนรุ่นใหม่ และเพดานมาตรา 112 ที่ต้องดันไปให้ทะลุ

พิมพ์ชนก พุกสุข

13 Oct 2022

Bite-Sized Clip

10 Oct 2022

6 ตุลา 2519 ความทรงจำผ่านสายตาคนรุ่นใหม่

101 สำรวจความคิด-ความทรงจำของเยาวชนคนรุ่นใหม่ในปัจจุบันต่อเหตุการณ์ 6 ตุลาฯ เมื่อ 46 ปีที่แล้ว ในวันที่นักเรียนนักศึกษาเคลื่อนไหวทางการเมืองอีกครั้ง

ศุภวิชญ์ ศิริสวัสดิ์วัฒนา

10 Oct 2022

Thai Politics

10 Oct 2022

กฤษฎางค์ นุตจรัส : จาก ‘6 ตุลา’ ถึง ‘112’ บาดแผลและความอยุติธรรมที่ยังไม่ได้รับการสะสาง

101 ชวน กฤษฎางค์ นุตจรัส มองความทรงจำ 6 ตุลาที่เปลี่ยนแปลงไปในแต่ละยุค และจุดร่วมคำถามแห่งยุคสมัยในวันที่มาตรา 112 ถูกหยิบมาปราบปรามผู้เห็นต่าง

ภัคจิรา มาตาพิทักษ์

10 Oct 2022

US

7 Oct 2022

ความยุติธรรมนั้นอยู่ที่ไหน จากไทยแลนด์ถึงสหรัฐอเมริกา

จากเหตุการณ์ 6 ตุลาในไทยที่ยังหาผู้รับผิดไม่ได้ ธเนศ อาภรณ์สุวรรณชวนมองไปถึงการเรียกร้องความเป็นธรรมของคนผิวดำในอเมริกา โดยต้องเริ่มต้นจากการทำให้ ‘ประวัติศาสตร์ของผู้ถูกกระทำ’ เป็น ‘ประวัติศาสตร์ชาติ’ และวิพากษ์ประวัติศาสตร์ชาตินิยมดั้งเดิมได้อย่างมีน้ำหนัก

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

7 Oct 2022

Politics

6 Oct 2022

วีรชน 6 ตุลา : จารุพงษ์ ทองสินธุ์

กษิดิศ อนันทนาธร เขียนถึงชีวประวัติของ จารุพงษ์ ทองสินธุ์ หนึ่งในวีรชนผู้เสียสละชีวิตตนเองเพื่อปกป้องคนอื่นในเหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519

กษิดิศ อนันทนาธร

6 Oct 2022

Politics

30 Sep 2022

101 One-on-One Ep.277 จาก ‘6 ตุลา’ ถึง ‘112’ บาดแผลร่วมสมัยของสังคมไทย กับ กฤษฎางค์ นุตจรัส

101 ชวน กฤษฎางค์ นุตจรัส ทนายความจากศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชน มองความทรงจำ 6 ตุลาที่เปลี่ยนแปลงไปในแต่ละยุค การให้ความหมายต่อเหตุการณ์นี้ของคนในปัจจุบัน และจุดร่วมคำถามแห่งยุคสมัยในวันที่มาตรา 112 ถูกหยิบมาปราบปรามผู้เห็นต่างอย่างกว้างขวาง

101 One-on-One

30 Sep 2022

Social Issues

21 Jul 2022

ด้วยรักแห่งอุดมการณ์

นพ.ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ เขียนถึง ‘ด้วยรักแห่งอุดมการณ์’ นวนิยายของวัฒน์ วรรลยางกูร อันสะท้อนภาพปัญหาความเหลื่อมล้ำของสังคมไทยที่ยังไม่เคลื่อนไปไหนเลยในครึ่งศตวรรษที่ผ่านมา

ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์

21 Jul 2022
1 2 3

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save