ความฝันเดือนตุลาของเยาวรุ่น ปี 2517 ในหนังสือสมานมิตร ฉบับศึก
รวินทร์ คำโพธิ์ทอง ชวนมองความคิดของเยาวชนช่วงหลังเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ผ่าน ‘สมานมิตร’ หนังสือประจำปีของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ซึ่งขณะนั้นมี สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล เป็นประธานนักเรียน

รวินทร์ คำโพธิ์ทอง ชวนมองความคิดของเยาวชนช่วงหลังเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ผ่าน ‘สมานมิตร’ หนังสือประจำปีของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ซึ่งขณะนั้นมี สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล เป็นประธานนักเรียน
อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ เขียนถึงจังหวะชีวิตของวัฒน์ วรรลยางกูรกับนิตยสารยานเกราะ ที่เป็นทั้งนิตยสารแจ้งเกิดเส้นทางนักเขียนและผลักให้เขาต้องหลบลี้ภัยการเมืองเมื่อ 6 ตุลาคม 2519
อติเทพ ไชยสิทธิ์ เขียนถึงการจัดการกับความทรงจำร่วมในสังคมไทยอย่างเหตุการณ์ 6 ตุลา ว่าทำไมการรำลึกจึงอาจถือว่าเป็นการลืมรูปแบบหนึ่ง และเราควรจะจดจำเหตุการณ์ความรุนแรงในอดีตอย่างไร
ธนาวิ โชติประดิษฐ เขียนถึงนิทรรศการ ‘6 ตุลา เผชิญหน้ากับปีศาจ’ ที่ใช้ภาพถ่ายร่วมกันเล่าเรื่องราว พาเรากลับไปสัมผัสประวัติศาสตร์บาดแผลของสังคมไทย
สนทนากับ ตะวัน-ทานตะวัน ตัวตุลานนท์ นักเคลื่อนไหวและนักกิจกรรมทางการเมือง กับเหตุการณ์ 6 ตุลาฯ ในสายตาของคนรุ่นใหม่ และเพดานมาตรา 112 ที่ต้องดันไปให้ทะลุ
101 สำรวจความคิด-ความทรงจำของเยาวชนคนรุ่นใหม่ในปัจจุบันต่อเหตุการณ์ 6 ตุลาฯ เมื่อ 46 ปีที่แล้ว ในวันที่นักเรียนนักศึกษาเคลื่อนไหวทางการเมืองอีกครั้ง
101 ชวน กฤษฎางค์ นุตจรัส มองความทรงจำ 6 ตุลาที่เปลี่ยนแปลงไปในแต่ละยุค และจุดร่วมคำถามแห่งยุคสมัยในวันที่มาตรา 112 ถูกหยิบมาปราบปรามผู้เห็นต่าง
จากเหตุการณ์ 6 ตุลาในไทยที่ยังหาผู้รับผิดไม่ได้ ธเนศ อาภรณ์สุวรรณชวนมองไปถึงการเรียกร้องความเป็นธรรมของคนผิวดำในอเมริกา โดยต้องเริ่มต้นจากการทำให้ ‘ประวัติศาสตร์ของผู้ถูกกระทำ’ เป็น ‘ประวัติศาสตร์ชาติ’ และวิพากษ์ประวัติศาสตร์ชาตินิยมดั้งเดิมได้อย่างมีน้ำหนัก
กษิดิศ อนันทนาธร เขียนถึงชีวประวัติของ จารุพงษ์ ทองสินธุ์ หนึ่งในวีรชนผู้เสียสละชีวิตตนเองเพื่อปกป้องคนอื่นในเหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519
101 ชวน กฤษฎางค์ นุตจรัส ทนายความจากศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชน มองความทรงจำ 6 ตุลาที่เปลี่ยนแปลงไปในแต่ละยุค การให้ความหมายต่อเหตุการณ์นี้ของคนในปัจจุบัน และจุดร่วมคำถามแห่งยุคสมัยในวันที่มาตรา 112 ถูกหยิบมาปราบปรามผู้เห็นต่างอย่างกว้างขวาง
นพ.ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ เขียนถึง ‘ด้วยรักแห่งอุดมการณ์’ นวนิยายของวัฒน์ วรรลยางกูร อันสะท้อนภาพปัญหาความเหลื่อมล้ำของสังคมไทยที่ยังไม่เคลื่อนไปไหนเลยในครึ่งศตวรรษที่ผ่านมา
บทสรุปงานเสวนา ‘กึ่งศตวรรษ วัฒน์ วรรลยางกูร ในสายธารวรรณกรรมไทย’ ในวาระการจากไปของวัฒน์ วรรลยางกูร นักเขียนรางวัลศรีบูรพา ร่วมเสวนาโดย สุชาติ สวัสดิ์ศรี, วาด รวี และ ไอดา อรุณวงศ์
ในยุคที่ใครต่อใครต่างพูดกันว่า “โรงหนังกำลังจะตาย” – ‘กัลปพฤกษ์’ ชวนชมนิทรรศการศิลปะ ‘ประวัติศาสตร์กระจ้อยร่อย – A Minor History’ โดย อภิชาติพงศ์ วีระเศรษฐกุล นิทรรศการภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหวของโรงภาพยนตร์ร้างแห่งหนึ่งในจังหวัดกาฬสินธุ์ ที่สะท้อนสภาพแห่งการเป็นเศษซากที่ยากจะกู้คืนให้กลับมาดังเดิม และเหลือไว้เพียงร่องรอยหลักฐานแห่งความทรงจำต่อวันเวลาอันเคยรุ่งโรจน์ของโรงภาพยนตร์
ธนาวิ โชติประดิษฐ เขียนถึงการส่งต่ออุดมการณ์ ความรู้สึกนึกคิด และสายสัมพันธ์จากคนรุ่นก่อนสู่คนรุ่นหลังผ่านกล่องฟ้าสาง
เมื่อพูดถึง ‘การออกแบบกลิ่น’ คนส่วนใหญ่คงนึกไปถึงเครื่องหอมหรือไม่ก็อาหาร แต่ด้วยคุณสมบัติของกลิ่นที่ทำงานกับความทรงจำได้เป็นอย่างดี จะเป็นไปได้หรือไม่ หากเราจะออกแบบกลิ่นโดยไม่ได้โฟกัสที่เรื่องความหอม แต่เพื่อ ‘เล่าเรื่อง’ อะไรบางอย่าง คอลัมน์ Third – Eye View สัปดาห์นี้ Eyedropper Fill จะพาไปรู้จักกลิ่นที่สร้างขึ้นเพื่อบอกเล่าประวัติศาสตร์ กลิ่นที่บันทึกวันเวลาในอดีต กลิ่นที่เป็นตัวแทนอัตลักษณ์ของเมือง ไปจนถึงกลิ่นที่ใช้เพื่อประท้วงและทวงคืนความยุติธรรมให้ผู้คน
ระบบ Recommend จะคัดสรรบทความและสื่อสร้างสรรค์ต่างๆ ที่คุณสนใจ มาให้คุณเลือกในหน้าโปรไฟล์ส่วนตัวของคุณ ให้คุณไม่พลาดทุกเนื้อหาที่คัดมาสำหรับคุณโดยเฉพาะ
คุณสามารถบันทึกบทความแบบ Read Later โดยคลิกที่ปุ่ม Bookmark Icon หรือจะเก็บบทความที่ชื่นชอบเป็นการส่วนตัวไว้ในหมวด Favorite โดยคลิกที่ปุ่ม Favorite Icon เพื่อกลับมาอ่านในภายหลัง
เพียงคุณลงชื่อเข้าใช้ ระบบจะจดจำตัวเลือกฟอนต์และธีมสีที่คุณเคยเลือก ให้คุณอ่านและรับชมทุกเนื้อหาอย่างเต็มที่ สบายตาและเพลิดเพลินใจในแบบที่เหมาะกับคุณ ไม่ว่าจะใช้งานบนคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต หรือสมาร์ตโฟน
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า