fbpx

Kid For Kids

26 Aug 2022

101 In Focus Ep.143: ตั้งหลักใหม่ ‘นโยบายเด็กและครอบครัว’

101 In Focus สัปดาห์นี้ชวนคุณร่วมตั้งหลักใหม่ ‘นโยบายเด็กและเยาวชน’ ทำไมนโยบายเด็กและครอบครัวจึงเป็นหนึ่งในหลักสำคัญในการพัฒนาประเทศ? ท่ามกลางวิกฤตโควิด-19 วิกฤตความเหลื่อมล้ำ-การพัฒนา และวิกฤตสังคม-การเมืองที่ทอดเงาทาบทับและท้าทายชีวิตของพวกเขาตลอดช่วงปี 2021-2022 เด็ก เยาวชน และครอบครัวไทยอยู่อย่างไร? ต้องเผชิญกับอะไรบ้าง และอะไรคือข้อเสนอในการ ‘ตั้งหลักใหม่’ ออกแบบนโยบายเด็กและครอบครัวที่ทันต่อการเปลี่ยนแปลงในโลก

กองบรรณาธิการ

26 Aug 2022

Kid For Kids

23 Aug 2022

“ไม่มีอะไรโหดร้ายกว่าการที่เด็กไม่มีความฝัน”

101 ชวนรับฟังเรื่องเล่าของ ‘เยาวรุ่น’ ผ่านผลงานที่ชนะเลิศการประกวด ‘เรื่องเล่าของ ‘เด็กสมัยนี้‘’ ของคิด for คิดส์ – ศูนย์ความรู้นโยบายเด็กและครอบครัว โดย สสส. ว่าด้วยชีวิตและความฝันของพวกเขา

กมลชนก คัชมาตย์

23 Aug 2022

101PUB

21 Aug 2022

‘โลกสร้างเด็ก เด็กสร้างโลก’ : ปฏิบัติการ ‘คิด for คิดส์’ ศูนย์ความรู้นโยบายเด็กและครอบครัว

เปิดตัว “คิด for คิดส์” ศูนย์ความรู้นโยบายเด็กและครอบครัว โดย 101 PUB และ สสส.

ปกป้อง จันวิทย์

21 Aug 2022

101PUB

15 Jul 2022

ส่องงบลงทุน 434,400 ล้านบาท ปี 2566: ลงทุนอะไรบ้าง? ตอบโจทย์ความท้าทายของไทยหรือไม่?

101 PUB พาสำรวจงบลงทุนในปีงบประมาณ 2566 ว่ารัฐบาลตั้งงบลงทุนตามยุทธศาสตร์อย่างไรและแท้จริงแล้ว งบลงทุนเหล่านี้จัดหาสินทรัพย์อะไร นำไปสู่บริการสาธารณะ หรือศักยภาพในการแข่งขันของประเทศในระยะยาวเพิ่มขึ้นได้อย่างไร

กษิดิ์เดช คำพุช

15 Jul 2022

Gender & Sexuality

16 Jun 2022

อ่านปัญหาในชีวิตและแรงสนับสนุนสิทธิ LGBTQ+ จากผลสำรวจเยาวชนของ คิด for คิดส์

คิด for คิดส์ ชวนผู้อ่านทำความเข้าใจความเจ็บปวดที่เยาวชนชาว LGBTQ+ ของไทยต้องเผชิญ พร้อมทั้งสำรวจแรงสนับสนุนของเยาวชนต่อนโยบายที่มุ่งสร้างความเสมอภาคทางเพศสภาพ ผ่านผลสำรวจเยาวชนไทย – คิด for คิดส์ Youth Survey 2022

วรดร เลิศรัตน์

16 Jun 2022

Justice & Human Rights

13 Jun 2022

ลดอายุผู้มีสิทธิเลือกตั้งจาก 18 เหลือ 15 ปี?: ขยายสิทธิให้เสียงเยาวชนมีความหมาย

คิด for คิดส์ ชวนผู้อ่านสำรวจปัญหาของระบอบการเมืองไทยที่ทำให้เสียงเยาวชนไร้ความหมาย เข้าใจถึงเหตุผลในการลดอายุผู้มีสิทธิเลือกตั้งจาก 18 เหลือ 15 ปี และร่วมขบคิดว่าถึงเวลาหรือยังที่เสียงเยาวชนควรถูกรับฟังผ่านการเลือกตั้งมากขึ้น

วรดร เลิศรัตน์

13 Jun 2022

City

9 May 2022

‘มอเตอร์ไซค์’ เส้นเลือดเลี้ยงชีวิตกรุงเทพฯ ที่ถูกมองข้าม: 3 ข้อเสนอนโยบายเพื่อผู้ขับขี่

101 PUB ชวนทำความเข้าใจความสำคัญของมอเตอร์ไซค์ต่อกรุงเทพฯ สำรวจปัญหาของผู้ขับขี่ และเสนอแนวนโยบายด้านโครงสร้างพื้นฐาน เพื่อส่งเสริมให้ผู้ขับขี่มีสิทธิบนท้องถนนเสมอหน้ากับผู้ใช้ถนนกลุ่มอื่นมากขึ้น

วรดร เลิศรัตน์

9 May 2022

Economy

2 May 2022

5 เรื่องเล่า vs 5 เรื่องจริง ดีลควบรวมทรู+ดีแทค และบทบาทของ กสทช.

101 PUB ชวนตรวจสอบ ‘เรื่องเล่า vs เรื่องจริง’ กรณีควบรวมทรู-ดีแทค ผ่านข้อมูลและกฎหมาย เมื่อ ‘ดีลใหญ่’ ครั้งนี้ส่งผลต่อผู้ใช้โทรศัพท์หลายล้านคนและอนาคตเศรษฐกิจดิจิทัลของไทย

ฉัตร คำแสง

2 May 2022

Social Issues

12 Apr 2022

สังคมแบบไหนที่คนไทยอยากมีลูก?

‘คิด for คิดส์’ ชวนผู้อ่านสำรวจเหตุผลจากงานวิจัยว่าเพราะอะไรคนสมัยนี้จึงไม่อยากหรือไม่พร้อมมีลูก รวมถึงนำเสนอทางออกและความเป็นไปได้ทางนโยบาย

เจณิตตา จันทวงษา

12 Apr 2022

City

31 Mar 2022

บ้าน(เช่า)มั่นคงสำหรับทุกคน: ทางแก้ปัญหาที่อยู่อาศัยในเขตเมือง

101PUB ชวนผู้อ่านสำรวจปัญหาคนเมืองไม่สามารถมีบ้านที่ดี ชี้ถึงช่องโหว่ของหนึ่งในนโยบายสำคัญอย่างการสร้างบ้านขายให้ครัวเรือน พร้อมทั้งเสนอแนวทางเปลี่ยนนโยบายไปสู่การสร้างบ้านเช่าที่มั่นคง

วรดร เลิศรัตน์

31 Mar 2022

Politics

26 Mar 2022

2 ปี พ.ร.ก.ฉุกเฉิน ไปต่อหรือพอแค่นี้?

ในวันที่รัฐบาลเตรียมเดินหน้าเปิดประเทศเต็มรูปแบบ มุ่งปรับโควิดเป็นโรคประจำถิ่น แต่ทั้งประเทศยังอยู่ใน ‘ภาวะฉุกเฉิน’

พ.ร.ก.ฉุกเฉิน ควรไปต่อหรือพอแค่นี้?

เจณิตตา จันทวงษา

26 Mar 2022

Economy

16 Mar 2022

5 คำถาม-คำตอบเรื่องวุ่นๆ ของการอุ้มดีเซล

ในวันที่ราคาน้ำมันดิบในตลาดโลกแพง ประเทศไทยก็เข้าสู่วังวนของการอุ้มดีเซลอีกครั้ง เพื่อพยุงต้นทุนภาคการขนส่ง 101 ชวนสำรวจ 5 คำถามและคำตอบเกี่ยวกับการอุ้มราคาพลังงานดีเซล

ฉัตร คำแสง

16 Mar 2022
1 2 3

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save