fbpx

Health

15 Dec 2022

คุณแม่ไม่มา คนทำงานไม่พอ : ภาพสะท้อนบริการฝากครรภ์ที่กลายเป็นสิ่งรั้งท้ายในวิกฤตโควิด

101 สำรวจปัญหาการฝากครรภ์ที่ลดน้อยถอยลงในช่วงโควิดจากมุมมองของบุคลากรทางการแพทย์ และย้อนมองระบบสาธารณสุขปัจจุบันว่าดูแลแม่และเด็กทั่วถึงครบถ้วนแล้วหรือยัง

ภาวรรณ ธนาเลิศสมบูรณ์

15 Dec 2022

Life & Culture

14 Jul 2022

“ความตายคือการเดินทางของทั้งคนตายและคนที่ยังอยู่” นิติ ภวัครพันธุ์

คุยกับนิติ ภวัครพันธุ์ ว่าด้วยเรื่องพิธีกรรมการส่งคนตายในมุมนักมานุษยวิทยา พิธีกรรมของความตายมีความหมายแค่ไหน คุณค่าของการตายและการมีชีวิตอยู่ต่างกันอย่างไร

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

14 Jul 2022

Social Issues

17 Jun 2022

“เราจะไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง” คำมั่นในวิกฤตกับ ‘แรงงานข้ามชาติ’ ที่ถูกลืม

มองผลกระทบของแรงงานข้ามชาติในไทยช่วงโรคระบาด เมื่อการเข้าถึงสิทธิต่างๆ ถูกจำกัดด้วยเส้นแบ่งสัญชาติ

วจนา วรรลยางกูร

17 Jun 2022

World

5 Nov 2021

The Great Resignation: ‘การลาออกอันยิ่งใหญ่’ คือเครื่องมือต่อสู้สุดท้ายของกรรมกร

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ ชวนคิดถึงคำถามที่ว่า “ทำไมต้องทำงาน?” ผ่านปรากฏการณ์การลาออกอันยิ่งใหญ่ที่เป็นผลจากโรคระบาดอันทำให้คนต้องเปลี่ยนแปลงสภาพการทำงานและสถานที่ทำงาน จนนำไปสู่การตั้งคำถามถึงงานที่ทำอยู่

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

5 Nov 2021

Politics

29 Sep 2021

ฆ่าทางนโยบายกับกฎหมายที่ตามไม่ค่อยทัน

เข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง ชวนคิดเรื่องความรับผิดทางกฎหมายและความรับผิดทางการเมืองจากการนโยบายควบคุมโควิด-19

เข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง

29 Sep 2021

Politics

24 Sep 2021

ม็อบหนุ่มสาว อนาคตประเทศไทย และกรอบรูป

อายุษ ประทีป ณ ถลาง เขียนถึงสภาพน่าเศร้าใจของบ้านเมืองที่ไม่เคยเป็นประชาธิปไตยที่แท้จริง ตกอยู่ในวังวนเผด็จการทหาร ทุจริตคอร์รัปชันที่นำความเสื่อมถอยมาให้แก่บ้านเมือง

อายุษ ประทีป ณ ถลาง

24 Sep 2021

Social Issues

1 Sep 2021

ความรับผิดรับชอบ

นพ.ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ ชวนคิดถึงการสร้างทักษะความรับผิดรับชอบในการศึกษาสมัยใหม่ เพื่อไม่ให้เกิดวิธีคิดการออกคำสั่งโดยไม่คำนึงถึงผลกระทบที่ตามมาเช่นที่เห็นในปัจจุบัน

ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์

1 Sep 2021

World

31 Aug 2021

การไต่สวนสาธารณะเพื่อหาผู้รับผิดชอบนโยบายสู้ศึกไวรัสระบาดที่ผิดพลาดล้มเหลว

การสูญเสียคนที่รักในครอบครัวเพราะโควิด-19 เกิดขึ้นอย่างกว้างขวางในสหราชอาณาจักร หลายกรณีอาจไม่เสียชีวิต หากมีการบริหารจัดการที่ดีกว่านี้ของรัฐบาล นั่นเป็นเหตุให้มีการเรียกหาความรับผิดชอบจากรัฐบาลบอริส จอห์นสัน และนำไปสู่การประกาศว่าจะมี ‘กระบวนการไต่สวนสาธารณะ’

สมชัย สุวรรณบรรณ

31 Aug 2021

Social Issues

27 Aug 2021

สบตากับความตาย : อาสาสมัครและภารกิจโควิดที่ไม่มีใครอยากเผชิญ

101 คุยกับอาสาสมัครกลุ่มเส้นด้ายถึงประสบการณ์การช่วยเหลือผู้ป่วยติดเชื้อในสถานการณ์ที่ระบบสาธารณสุขไม่สามารถโอบรับทุกคนได้

วจนา วรรลยางกูร

27 Aug 2021

Life & Culture

26 Aug 2021

มรณกรรม(เลิก)อำพราง : สนทนาเรื่องความตายกับ ‘ภาวิกา ศรีรัตนบัลล์’ ในวันที่โรคระบาดทำให้เราไม่อาจตายดี

101 สนทนากับภาวิกา ศรีรัตนบัลล์ ถึงความตายและวิถีการตายที่เปลี่ยนไปเพราะโควิด-19 ผลกระทบที่เกิดขึ้น และอนาคตที่รัฐต้องวางแผนรับมือเพื่อการตายที่ดี

ภาวรรณ ธนาเลิศสมบูรณ์

26 Aug 2021

Social Issues

4 Aug 2021

เรามีเด็กกำพร้าเพราะโควิดเพิ่มขึ้นเท่าไรแล้ว

นพ.ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ ชวนคิดถึงปัญหาต่อเนื่องจากความสูญเสียที่เกิดจากโรคระบาด เมื่อเด็กๆ ต้องกลายเป็นเด็กกำพร้า นำไปสู่คำถามว่าจะดูแลเด็กๆ เหล่านี้อย่างไร

ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์

4 Aug 2021

Social Issues

14 Jul 2021

เราช่วยเหลือตนเองอะไรได้บ้างเมื่อโรงเรียนปิดเกือบตลอดเวลา

เมื่อโรงเรียนปิดและเด็กต้องอยู่บ้านตลอดเวลา พ่อแม่ควรทำอย่างไรเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของลูกๆ?

ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์

14 Jul 2021

Social Issues

9 Jul 2021

ถอดบทเรียนวิกฤตวัคซีนและโรงงานกิ่งแก้ว : 9 บาดแผลเดิมๆ ของประเทศภายใต้ระบอบประยุทธ์

พริษฐ์ วัชรสินธุ ชวนมอง 9 บาดแผลฉกรรจ์ของประเทศไทยภายใต้ระบอบประยุทธ์ที่ถูกเปิดโดยวิกฤตวัคซีนและวิกฤตไฟไหม้โรงงานกิ่งแก้ว

พริษฐ์ วัชรสินธุ

9 Jul 2021

Health

30 Jun 2021

เมื่อลูกต้องไปจากเรา 14 วัน

ในวันที่มีเด็กจำนวนมากติดเชื้อและถูกพรากไปจากพ่อแม่ นพ.ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ ให้คำแนะนำพ่อแม่ถึงวิธีรักษาปฏิสัมพันธ์ระหว่างที่เด็กๆ ต้องกักตัว

ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์

30 Jun 2021
1 2 5

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save