fbpx

Media

17 Feb 2023

101 In Focus Ep.166 : ทำอย่างไรเมื่อคนป่วยซึมเศร้าเพิ่ม แต่จิตแพทย์ขาดแคลน

101 In Focus คุยกันเรื่องระบบบริการสุขภาพจิตของไทย ชวนตั้งคำถามและหาคำตอบว่า ปัญหาโรคซึมเศร้าไทยรุนแรงแค่ไหน กระทบต่อเยาวชนอย่างไร เราขาดแคลนบุคลากรแค่ไหน และระบบบริการสุขภาพจิตที่ดีควรเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2023

Kid For Kids

26 Jan 2023

ทำไมพยาบาลจิตเวชถึงไม่มีเวลาทำงานจิตเวช?

คิด for คิดส์ ชวนฟังเสียงของคนทำงานจิตเวชด่านหน้าที่ต้องแบกรับภาระงานรอบด้าน ภายใต้แรงกดดันของ ‘ตัวชี้วัด’ ในบริบทพื้นที่ห่างไกล ซึ่งย้อนกลับมาสร้างปัญหาให้กับการกระจายบุคลากรด้านจิตเวชที่ขาดแคลนอยู่แล้ว

สรัช สินธุประมา

26 Jan 2023

Life & Culture

23 Sep 2021

[ความน่าจะอ่าน] ‘แด่ผู้แหลกสลาย’ เหตุผลของการดำรงอยู่อาจเป็นกาแฟยามเช้าสักแก้ว

วจนา วรรลยางกูร เขียนถึงหนังสือ แด่ผู้แหลกสลาย (Reasons to Stay Alive) 1 ใน 11 Top Highlights ‘ความน่าจะอ่าน 2021’ เรื่องเล่าการต่อสู้กับโรคซึมเศร้าของ แมตต์ เฮก นักเขียนวรรณกรรมชาวอังกฤษ

วจนา วรรลยางกูร

23 Sep 2021

Talk Programmes

29 Jan 2021

101 One-On-One Ep.209 | เจาะ (สุขภาพ) จิต กับ ธนกฤษ ลิขิตธรากุล

101 สนทนากับ ธนกฤษ ลิขิตธรากุล ถึงสถานการณ์สุขภาพจิตของคนไทย ทำความเข้าใจประเด็นด้านสุขภาพจิตบางอย่างที่อาจถูกละเลยหรือเข้าใจผิด รวมถึงวิธีประคับประคองจิตใจของตนเองและคนรอบข้าง

101 One-on-One

29 Jan 2021

Education

1 Oct 2020

กรณีเด็กถูกทำร้าย-เรื่องที่คุณพ่อคุณแม่ควรทำก่อน

นายแพทย์ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ เขียนถึงสิ่งที่พ่อแม่ควรทำเมื่อลูกถูกทำร้ายร่างกายหรือล่วงละเมิด สิ่งสำคัญคือการพาลูกเข้าพบจิตแพทย์เด็กโดยเร็ว อย่ามัวรอหน่วยงานราชการให้เป็นข่าวเอิกเกริก

ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์

1 Oct 2020

Social Problems

11 Mar 2020

ซึมเศร้า: การค้นหาคำตอบที่ซับซ้อน

นิติ ภวัครพันธุ์ ชวนหาคำตอบของอาการซึมเศร้าด้วยมุมมองแบบมานุษยวิทยา ที่มองว่าอาการซึมเศร้าอาจไม่ใช่โรคหรือการเจ็บป่วยเช่นที่วงการแพทย์ระบุไว้ แต่อาจเกี่ยวข้องกับเงื่อนไขทางสังคม หรือเป็น “ผลงานทางวัฒนธรรม”

นิติ ภวัครพันธุ์

11 Mar 2020

Issue of the Age

26 Dec 2019

หนีจากชายขอบเพื่อปะทะกับความไม่เข้าใจ : สุขภาพจิต-เพศ ในปี 2019

ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์ ชวนสำรวจเรื่องเพศและสุขภาพจิต ในปี 2019 เพื่อทบทวนว่า ในสองประเด็นที่สังคมเริ่มเปิดใจ มีแง่มุมไหนที่ยังก้าวไม่พ้นอคติ และความไม่เข้าใจของคนในสังคมบ้าง

ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์

26 Dec 2019

Health

20 Dec 2019

ใจของเราก็เจ็บป่วยเป็น : สุขภาพจิตและความคิดฆ่าตัวตายของนักเรียนนักศึกษาไทย

ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์ พาสำรวจสถานการณ์สุขภาพจิตของวัยรุ่น ปัญหาสภาพแวดล้อม ความเข้าใจของผู้ใหญ่ ไปจนถึงข้อจำกัดในการรับการรักษา ผ่านคำบอกแล้วของอาจารย์ นักจิตวิทยาในสถานศึกษา และตัวแทนเด็กและเยาวชน

ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์

20 Dec 2019

Lifestyle

14 Nov 2019

‘ซึมเศร้า’ หรือ ‘วิตกกังวล’ เมื่อความแตกต่างอาจไม่ได้สำคัญอีกต่อไป

โสภณ ศุภมั่งมี เขียนถึงความเหมือนและต่างของ ‘โรคซึมเศร้า’ และ ‘โรควิตกกังวล’ ที่ผู้ป่วยมักจะมีอาการใกล้เคียงกัน แต่ขณะเดียวกันก็แตกต่างในรายละเอียด ในอนาคตเราจะทำความเข้าใจและรักษาโรคนี้อย่างไร

โสภณ ศุภมั่งมี

14 Nov 2019

Media

8 Nov 2019

101 in focus EP.15 : จิต-วิเคราะห์

101 in focus Ep.15 ชวนคุนสำรวจเรื่องของจิตใจไปจนถึงสมอง ทั้งสถานการณ์โรคซึมเศร้าในผู้คนหลากวัย ทางเลือกการบำบัดรูปแบบต่างๆ  ความเข้าใจเรื่องโรคจิตเภท และความซับซ้อนของสมองที่มีผลกับมนุษย์

กองบรรณาธิการ

8 Nov 2019

TREND RIDER

1 Mar 2019

ทำไมซึมเศร้า – ซึมเศร้าทำไม: คลื่นแห่งโรคซึมเศร้ากำลังสาดซัดเข้าหามนุษยชาติ

คอลัมน์ Trend Rider สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา พาสำรวจปรากฏการณ์ ‘ซึมเศร้า’ ที่กระจายอยู่ทุกแห่งหนในโลก เกิดอะไรขึ้นกับมวลมนุษยชาติ

โตมร ศุขปรีชา

1 Mar 2019

Media

16 Nov 2018

Threesome : อ่านจนแตก ซีรีส์ ‘เรื่อง-จิต-จิต’ ตอนที่ 1 “หมั่นคอยดูแลรักษาจิตใจ”

Threesome อ่านจนแตก Ep.49 สัปดาห์นี้ มาในซีรีส์ ‘เรื่อง-จิต-จิต’ แบ่งเป็น 3 ตอน 3 สัปดาห์ เปิดตอนแรกด้วยหัวข้อ ‘หมั่นคอยดูแลรักษาจิตใจ’ ว่าด้วยความเข้าใจเกี่ยวกับการปรึกษา-รักษาปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพจิต

กองบรรณาธิการ

16 Nov 2018
1 2

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save