fbpx

Thai Politics

23 Feb 2022

ฉันฝันว่าสักวันเราทุกคนจะเท่าเทียมกัน – เบนจา อะปัญ

101 คุยกับ เบนจา อะปัญ หนึ่งในนักศึกษาผู้ต่อสู้เพื่อนประชาธิปไตยและความเท่าเทียม ย้อนมองชีวิต การเคลื่อนไหวที่ผ่านมา และอนาคตที่ยังไม่แน่นอน

ภาวรรณ ธนาเลิศสมบูรณ์

23 Feb 2022

Photojournalism

6 Oct 2021

รำลึก 45 ปี 6 ตุลา 2519 ใครฆ่าพี่-เราไม่ลืม

ช่วงฟ้าสางของ 6 ตุลาคม 2564 ณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ มีการจัดกิจกรรมรำลึก 45 ปี เหตุการณ์สังหารหมู่นักศึกษาและประชาชน เมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2519 ภายในงานแบ่งกิจกรรมออกเป็น 3 ช่วง โดยในช่วงเช้าเป็นพิธีทำบุญตักบาตรพระสงฆ์และวางพวงหรีดเพื่อไว้อาลัยและรำลึกถึงเหล่าวีรชนผู้เสียสละจากประชาชนและกลุ่มกิจกรรมต่างๆ เช่น กลุ่มสมัชชาคนจน กลุ่มแนวร่วมธรรมศาสตร์และการชุมนุม กลุ่มเฟมินิสต์ปลดแอก คณะประชาชนเพื่ออิสรภาพ (คปอ.) กลุ่มเยาวรุ่นทะลุแก๊ส กลุ่มราษฎร รวมถึงกลุ่มคนเสื้อแดง เป็นต้น

เมธิชัย เตียวนะ

6 Oct 2021

Bite-Sized Clip

4 Sep 2021

“เรามาไกลเกินกลับไปนับหนึ่ง” ม็อบ 3 กันยาฯ ราชประสงค์

3 กันยายน 2564 ที่แยกราชประสงค์ กลุ่มแนวร่วมธรรมศาสตร์และการชุมนุม ร่วมกับ กลุ่มทะลุฟ้า นัดชุมนุม ‘#ม็อบ3กันยา ราษฎรไม่ไว้วางใจมึง’ โดยแกนหลักสำคัญคือการย้ำหลักสันติวิธีในการต่อสู้ เพราะหลักสันติวิธีจะช่วยรักษาความชอบธรรมในการเคลื่อนไหวและลดทอนการใช้ความรุนแรงจากภาครัฐ อีกทั้งยังคงย้ำถึงความหวังของประชาชนในการต่อสู้ ที่ไม่ว่าผลจะเป็นยังไงในภายภาคหน้า ก็ขอให้ยืนหยัดสู้กันต่อ

กองบรรณาธิการ

4 Sep 2021

Politics

10 Aug 2021

“ความกลัวไม่อาจเปลี่ยนเป็นความรัก” รุ้ง-ปนัสยา สิทธิจิรวัฒนกุล

101 พูดคุยกับ รุ้ง-ปนัสยา สิทธิจิรวัฒนกุล ผู้ประกาศข้อเรียกร้องปฏิรูปสถาบันกษัตริย์ถึงชีวิตและการเคลื่อนไหวช่วงปีที่ผ่านมา พร้อมมองไปข้างหน้าถึงความเปลี่ยนแปลง

วจนา วรรลยางกูร

10 Aug 2021

Thai Politics

17 May 2021

แม้พายุโหมกระหน่ำ แต่สุดท้าย ‘สายรุ้ง’ จะปรากฏ: บันทึกนอกเรือนจำจากเพื่อน ‘รุ้ง-ปนัสยา’

101 ชวนอ่านบันทึกการต่อสู้นอกเรือนจำในนามของ รุ้ง-ปนัสยา ซึ่งมีเหล่าเพื่อนสนิทอย่าง ชนินทร์ วงษ์ศรี และ ปิยพัทธ์ สาและ จากกลุ่มแนวร่วมธรรมศาสตร์และการชุมนุม พร้อมทั้งอาจารย์ที่เคยสอนรุ้ง ผศ.ดร.จันทนี เจริญศรี และ ศิริพร ศรีสินธุ์อุไร เป็นผู้ถ่ายทอดเรื่องราว ในวันที่เพื่อนและลูกศิษย์ของเขาไม่ได้รับการประกันตัวตามหลักการที่ควรจะเป็น พวกเขารู้สึกอย่างไรกับสิ่งที่เกิดขึ้น

กองบรรณาธิการ

17 May 2021

Media

17 Oct 2020

101 In Focus Ep.61 : ยิ่งกดขี่ปราบปราม ขบวนการประชาชนก็ยิ่งเด็ดเดี่ยวและเติบโต

101 In Focus สัปดาห์นี้ ชวนหาคำตอบว่า ความหวาดกลัวที่ผู้มีอำนาจพยายามใช้กดขี่มวลชนจะนำไปสู่การอ่อนกำลังของขบวนการเสมอไปหรือไม่ แล้วโซเชียลมีเดียมีพลังต้านการกดขี่คุกคามหรือไม่

กองบรรณาธิการ

17 Oct 2020

Thai Politics

14 Oct 2020

คณะราษฎร 2563

สมชาย ปรีชาศิลปกุล เปรียบเทียบ ‘คณะราษฎร 2563’ และ ‘คณะราษฎร 2475’ ว่ามีอุดมการณ์เดียวกันคือการปฏิรูปให้สถาบันพระมหากษัตริย์อยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญ

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

14 Oct 2020

Thai Politics

8 Oct 2020

“น้อมกายก้มหัวเป็นงัวงาน” รู้จักหน่วยซัพพอร์ตม็อบ #ให้มันจบที่รุ่นเรา

101 พาไปรู้จัก ‘งัวงาน’ ที่ก้มหัวขวางคิ้วให้กับแรงเสียดทานที่เข้ามาทุกสารทิศ และน้อมรับหน้าที่เล็กๆ ด้วยหัวใจที่ยิ่งใหญ่

ธิติ มีแต้ม

8 Oct 2020

Thai Politics

21 Sep 2020

Exclusive อานนท์ นำภา – “ผมภาวนาให้สถาบันกษัตริย์ปรับตัว”

สัมภาษณ์อานนท์ นำภา ทนายความหนุ่มที่กำลังเขย่าสังคมไทยด้วยข้อเสนอปฏิรูปสถาบันกษัตริย์ ผู้ปลุกบทสนทนาแห่งความกลัวให้กลายเป็นหัวข้อสาธารณะ

กองบรรณาธิการ

21 Sep 2020

Thai Politics

18 Sep 2020

หนึ่งฝันอันหลากหลาย: เปิดเบื้องหลังวิธีคิด วิธีทำงาน ของขบวนการนักศึกษา 4.0

101 ชวนสำรวจวิธีคิดและเบื้องหลังขบวนการนักศึกษาไทยในยุค 4.0 ผ่าน  ‘แนวร่วมธรรมศาสตร์และการชุมนุม’ ‘ประชาชนปลดแอก’ และ ‘นักเรียนเลว’ เพื่อทำความเข้าใจภาพใหญ่การเมืองไทย

กองบรรณาธิการ

18 Sep 2020

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save