fbpx

Life & Culture

10 Aug 2023

สถาปัตยกรรมภายใต้เขี้ยวเล็บเสรีนิยมใหม่ : ดักลาส สเปนเซอร์

101 สนทนากับ ดักลาส สเปนเซอร์ อาจารย์สาขาวิชาประวัติศาสตร์และทฤษฎีวิพากษ์เชิงวิจารณ์ ที่มหาวิทยาลัยบักกิงแฮมเชอร์ ชิลเทิร์นส์ในสหราชอาณาจักร เกี่ยวกับสถาปัตยกรรมในระบอบเสรีนิยมใหม่ ที่ชวนยึดโยงมาถึงกรณีศษลเจ้าแม่ทับทิมและสำนักงานจัดการทรัพย์สินจุฬาฯ ในเวลานี้

พิมพ์ชนก พุกสุข

10 Aug 2023

Political Economy

3 Mar 2023

เมื่อเสรีนิยมใหม่โต้มา-สามัญชนสู้ชีวิตกลับ: บทแนะนำเศรษฐศาสตร์การเมืองในชีวิตประจำวันและเสรีนิยมใหม่จากเบื้องล่าง

ตฤณ ไอยะรา เขียนถึงแนวคิดการมองสามัญชนในฐานะผู้กระทำการในระบบเสรีนิยมใหม่ สะท้อนให้เห็นกลไกเศรษฐกิจที่ไม่ได้เป็นไปตามภาพหวังของชนชั้นนำเสมอไป

ตฤณ ไอยะรา

3 Mar 2023

Political Economy

12 Jun 2022

เมื่อการดูหนัง-ฟังเพลงไม่ใช่แค่รสนิยมส่วนตัว: การผงาดขึ้นของทุนนิยมดิจิทัล และลัทธิเสรีนิยมใหม่

อุกฤษฏ์ ปัทมานันท์ ชวนมองการผงาดขึ้นของบริการ OTT ซึ่งเป็นภาพแทนของการเติบโตของระบบทุนนิยมดิจิทัลและแนวคิดเสรีนิยมใหม่

อุกฤษฏ์ ปัทมานันท์

12 Jun 2022

Education

30 Nov 2021

เมื่อการปฏิรูปการศึกษานำไปสู่ความเหลื่อมล้ำ?: มองการศึกษาไทยบนถนนสายเสรีนิยมใหม่ กับ วงอร พัวพันสวัสดิ์

ในวันที่การศึกษาดูเหมือนจะเดินออกห่างจากปลายทางที่แท้จริง 101 ชวน อ.ดร.วงอร พัวพันสวัสดิ์ มองเบื้องหลังปรากฏการณ์ที่ตามมาจากการปฏิรูปการศึกษาผ่าน พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติปี 2542 ด้วยเลนส์เสรีนิยมใหม่ ตั้งแต่ความเปลี่ยนแปลงและผลข้างเคียงในนาม ‘ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา’ ทั้งระดับโครงสร้างและระดับห้องเรียน ไปจนถึงหนทางในการพาการศึกษาไทยกลับสู่เส้นทางสู่การเรียนรู้อย่างเสมอหน้าอีกครั้ง

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

30 Nov 2021

Dancing with Leviathan

8 Nov 2021

จากเศรษฐกิจพันลึก สู่นโยบายหลักของสหรัฐอเมริกา: การเดินทางของนโยบายอุตสาหกรรมแห่งศตวรรษที่ 21

แบ๊งค์ งามอรุณโชติ เขียนถึงแนวคิดทางเศรษฐกิจของรัฐบาลสหรัฐฯ ที่เริ่มโอบรับ ‘นโยบายอุตสาหกรรม’ แบบญี่ปุ่นมาใช้อย่างซ่อนเร้นในยุค 1980s กระทั่งถูกนำมาใช้อย่างโจ่งแจ้งในยุคปัจจุบัน

แบ๊งค์ งามอรุณโชติ

8 Nov 2021

Spotlights

20 Jul 2020

‘Good Jobs Economy’: สัญญาประชาคมใหม่ในยุค ‘The Great Reset’

สมคิด พุทธศรี เขียนถึงปัญหาในระบบทุนนิยมโลกาภิวัตน์ที่ไม่สามารถ ‘สร้างงานที่ดี’ ได้อย่างเพียงพอ และพาไปรู้จัก ‘Good Jobs Economy’ ในฐานะสัญญาประชาคมใหม่ที่จะเข้ามาแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำและความไม่มั่นคงในชีวิตของผู้คน

สมคิด พุทธศรี

20 Jul 2020

Global Affairs

25 Mar 2020

โคโรนาไวรัสและจุดจบของโลกาภิวัตน์?

จันจิรา สมบัติพูนศิริ ชวนคิดถึงความเปลี่ยนแปลงของโลกาภิวัตน์เมื่อโคโรนาไวรัส ส่งผลต่อวิธีคิดแบบ ‘ชุมชนนิยม’ และเรียกร้องให้รัฐชาติกลับมามีบทบาทสำคัญยามคับขัน

จันจิรา สมบัติพูนศิริ

25 Mar 2020

Economy

17 Dec 2018

ทุนนิยมไทยไปทางไหนดี

วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร เขียนถึงสภาวะของทุนนิยมโลก และทุนนิยมไทย ที่นับวัน ‘การแข่งขัน’ ยิ่งน้อยลง สวนทางกับการผูกขาดโดยทุนยักษ์ใหญ่ พร้อมถอดบทเรียนว่าสุดท้ายแล้ว ทุนนิยมไทยควรมุ่งไปทางไหนดี

วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร

17 Dec 2018

World

30 Mar 2018

EU Disintegration : เมื่อ(สหภาพ)ยุโรปแตกแยก

อะไรคือปัญหาของสหภาพยุโรปในโลกเสรีนิยมใหม่ ทำไมคำอธิบายใหม่ๆ จึงจำเป็นในการเมืองโลกปัจจุบัน

จิตติภัทร พูนขำ วิเคราะห์ ‘ที่มา’ ของความแตกแยกในยุโรป และฉายภาพ ‘ที่ไป’ ของสหภาพยุโรปในอนาคต

จิตติภัทร พูนขำ

30 Mar 2018

READ-O-SAPIENS

28 Mar 2018

อุดมการณ์ของทุน อุดมการณ์ของคุณ สัจนิยมของทุน

ภาคิน นิมมานนรวงศ์ พาเข้าไปดูถึงโครงสร้างของทุนนิยม เมื่ออุดมการณ์ของทุนนิยมไม่ได้ถูกมองว่าเป็นอุดมการณ์อย่างหนึ่งเหมือนในช่วงสงครามเย็นอีกต่อไป ทว่ามันค่อยๆ ถูกพูดถึงราวกับเป็นข้อเท็จจริงทางสังคม และเป็นสิ่งที่สอดคล้องกับธรรมชาติของมนุษย์มากที่สุด เราจะทำอย่างไรเมื่อทุนนิยมเรียกร้องให้ ‘ปัจเจกชน’ ต้องทำทุกทางเพื่อให้อยู่รอด

ภาคิน นิมมานนรวงศ์

28 Mar 2018

Global Affairs

29 Dec 2017

การเมืองระหว่างประเทศยามผลัดปี : การสิ้นสุดของอะไร?

จิตติภัทร พูนขำ สำรวจการเมืองระหว่างประเทศตลอดปี 2017 ที่ผ่านมา และมองไปข้างหน้าว่าเราจะได้เห็นอะไรในปี 2018

จิตติภัทร พูนขำ

29 Dec 2017

Political Economy

17 Jul 2017

จากเสรีนิยมเก่าสู่เสรีนิยมใหม่ – รัฐไทยอยู่ตรงไหน

วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร ตั้งคำถามชวนคิด รัฐไทยมีความเป็นเสรีนิยมแค่ไหน ‘เก่า’ หรือ ‘ใหม่’ มากกว่ากัน?

วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร

17 Jul 2017

Global Affairs

17 Mar 2017

โลกเอียงขวา ประชานิยม และอนาคตประชาธิปไตย

จาก Brexit สู่ทรัมป์ ถึงเลอ เพน … กระแส “ขวาประชานิยม” กำลังครองโลก

จันจิรา สมบัติพูนศิริ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ชวนตั้งคำถามถึงการเมืองเรื่องซ้าย-ขวา และประชานิยม ค้นหาคำอธิบายสาเหตุของ “โลกหันขวา” ทั้งในมิติวัฒนธรรมและเศรษฐกิจ และสำรวจสารพัดคำถามใหม่ที่ท้าทายโลกยุคเอียงขวา

โลกจะเดินต่ออย่างไรบนทางแพร่งแห่งอนาคตของเสรีนิยมประชาธิปไตย

จันจิรา สมบัติพูนศิริ

17 Mar 2017

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save