fbpx

Interviews

20 Mar 2024

“ยาก แต่ไม่ใช่อุดมคติจนเป็นไปไม่ได้” ความฝันของศิริกัญญา ตันสกุล ในโลกการเมืองที่ไม่ Belong to the Club

101 สนทนาถึงชีวิตของ ศิริกัญญา ตันสกุล จากเด็กต่างจังหวัดที่ชื่นชอบเศรษฐศาสตร์ สู่การเป็นนักวิจัย และนักการเมืองที่มีความฝันพลิกเศรษฐกิจไทย

วจนา วรรลยางกูร

20 Mar 2024

Economy

1 Dec 2023

เศรษฐศาสตร์การกำกับดูแล: เมื่อการกำกับดูแล (ไทย) เสี่ยงไล่ตามแพลตฟอร์มไม่ทัน คุยกับ พรเทพ เบญญาอภิกุล และวรรณวิภางค์ มานะโชติพงษ์

101 สนทนากับพรเทพ เบญญาอภิกุล และ วรรณวิภางค์ มานะโชติพงษ์ ว่าด้วยหลักคิดทางเศรษฐศาสตร์กับการกำกับการแข่งขันในดิจิทัลแพลตฟอร์ม

สมคิด พุทธศรี

1 Dec 2023

Economy

13 Jun 2023

รายงานวิจัย: การปฏิบัติงานของคณะกรรมการการแข่งขันทางการค้า: ศึกษาผ่านเอกสารผลคำวินิจฉัย

101 PUB ชวนสำรวจปัญหาของคำวินิจฉัยและกระบวนการทำงานของ ‘คณะกรรมการการแข่งขันทางการค้า’ พร้อมข้อเสนอนโยบายเพื่อการปฏิรูป

พรเทพ เบญญาอภิกุล

13 Jun 2023

Politics

6 Dec 2022

101 One-on-One Ep.285 ออกแบบนโยบายความสุข กับ ณัฐวุฒิ เผ่าทวี 

101 ชวน ณัฐวุฒิ เผ่าทวี ศาสตราจารย์ทางด้านเศรษฐศาสตร์ ประจำมหาวิทยาลัย Nanyang Technological University มาพูดคุยว่าด้วยการออกแบบนโยบายที่ทำให้คนมีความสุข เราจะเปลี่ยนสังคมด้วยนโยบายอย่างไร

101 One-on-One

6 Dec 2022

Political Economy

16 Jan 2022

วิทยาศาสตร์ที่พึ่งสร้าง อัลเฟรด มาร์แชล และการเอาตัวรอดของเศรษฐศาสตร์

นรชิต จิรสัทธรรม เล่าถึงการปรับตัวของเศรษฐศาสตร์ซึ่งถูกท้าทายอย่างหนักในช่วงปลายศตวรรษที่ 19 จนเป็นเศรษฐศาสตร์อย่างที่เห็นในปัจจุบัน ด้วยคุณูปการของอัลเฟรด มาร์แชล

นรชิต จิรสัทธรรม

16 Jan 2022

Economy

3 Nov 2021

สู่สองทศวรรษที่สูญหาย? สิ่งที่ประเทศไทยขาดมากที่สุดคือ ‘ความหวัง’ – กฤษฎ์เลิศ สัมพันธารักษ์

101 ชวนกฤษฎ์เลิศ สัมพันธารักษ์ ตีโจทย์เศรษฐกิจไทยในยุคหลังโควิด-19 อะไรคือสิ่งที่สังคมไทยจะต้องกลับมา ‘คิดใหม่’ และ ‘ปรับใหญ่’ เรื่องเศรษฐกิจการเมือง พร้อมหาคำตอบว่าเราจะพาเศรษฐกิจไทยหลุดพ้นจากสองทศวรรษแห่งการสูญหายนี้ไปได้อย่างไร

กองบรรณาธิการ

3 Nov 2021

Curious Economist

27 Oct 2021

รุ่งอรุณแห่งเศรษฐศาสตร์เชิงประจักษ์ ถึงเวลาใช้หลักฐานออกแบบนโยบาย

คอลัมน์ Curious Economist เดือนนี้ รพีพัฒน์ อิงคสิทธิ์ เขียนถึงเศรษฐศาสตร์เชิงประจักษ์ (empirical economics) ที่กำลัง ‘ปฏิวัติความน่าเชื่อถือ’ ของวงการเศรษฐศาสตร์และกระบวนการกำหนดนโยบายเศรษฐกิจ

รพีพัฒน์ อิงคสิทธิ์

27 Oct 2021

Economy

12 Jul 2021

ศาสตร์แห่งความหดหู่ : จากมัลธัส มิลล์ ถึงเศรษฐศาสตร์มหภาค

นรชิต จิรสัทธรรม เขียนถึงประวัติศาสตร์ความเป็นมาของเศรษฐศาสตร์ในฐานะ ‘ศาสตร์แห่งความหดหู่’ – จากศาสตร์แห่งการปลดปล่อยทาสสู่ศาสตร์ที่เอาแต่สนใจตัวเลขและละเลยมิติทางสังคม

นรชิต จิรสัทธรรม

12 Jul 2021

Curious Economist

13 Jan 2021

รู้จักทฤษฎีการประมูล: ออกแบบตลาดฉบับนักเศรษฐศาสตร์รางวัลโนเบล

รพีพัฒน์ อิงคสิทธิ์ เขียนถึงทฤษฎีการประมูลของพอล อาร์. มิลกรอม และโรเบิร์ต บี. วิลสัน สองนักเศรษฐศาสตร์รางวัลโนเบลคนล่าสุด เพื่อทำความเข้าใจว่า การประมูลมีบทบาทในการจัดสรรทรัพยากรให้กระจายสู่สาธารณะได้อย่างไร

รพีพัฒน์ อิงคสิทธิ์

13 Jan 2021

Economy

5 Jun 2020

หนี้สาธารณะระดับไหนถึงเหมาะสม

พีรพัฒน์ ตัณฑวณิช สำรวจวิวาทะว่าด้วย ‘ระดับหนี้สาธารณะที่เหมาะสม’ ในวงวิชาการระดับโลก เพื่อตั้งคำถามถึงสถานะทางการคลังของประเทศไทยในยุควิกฤตโควิด-19

พีรพัฒน์ ตัณฑวณิช

5 Jun 2020

Political Economy

29 May 2020

สิ่งที่เคนส์ย้ำ กับคำที่เคนส์ลืม

วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร และ นภนต์ ภุมมา ชวนมองนโยบายการคลังในช่วงโควิด-19 ที่ผ่านมา ตามหลักเศรษฐศาสตร์ของ ‘เคนส์’

วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร

29 May 2020

Talk Programmes

22 May 2020

101 One-on-One Ep.143 : ตอบโจทย์สู้ความเหลื่อมล้ำ-ต้านการผูกขาด-สร้างความยั่งยืน ยุค COVID-19

101 สนทนากับ “สฤณี อาชวานันทกุล” ว่าด้วยนโยบายเศรษฐกิจที่ให้ความสำคัญกับการจัดการความเหลื่อมล้ำ การต่อสู้การผูกขาด และการสร้างความยั่งยืน หน้าตาของนโยบายสู้ COVID-19 ของสังคมไทยควรจะออกมาแบบไหน

101 One-on-One

22 May 2020

Economic Focus

23 Apr 2020

‘แบงก์ชาติ-ตลาดการเงิน-เศรษฐกิจไทย-วิชาเศรษฐศาสตร์’ ท่ามกลางวิกฤตที่โลกไม่เคยเจอมาก่อน – พิพัฒน์ เหลืองนฤมิตชัย

พิพัฒน์ เหลืองนฤมิตชัย ชวนสำรวจบทบาทใหม่ของแบงก์ชาติท่ามกลางวิกฤต COVID-19 ผ่านมาตรการช่วยเหลือตลาดการเงินด้วยกองทุน BSF

ปกป้อง จันวิทย์

23 Apr 2020

Economic Focus

22 Apr 2020

ต้นทุนและผลได้ของมาตรการยับยั้งการระบาด COVID-19

วิมุต วานิชเจริญธรรม วิเคราะห์ประโยชน์และต้นทุนของนโยบายปิดเมือง เพื่อตอบคำถามว่าผลได้จากการหยุดยั้งโรคระบาดคุ้มค่ากับความสูญเสียทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นหรือไม่

วิมุต วานิชเจริญธรรม

22 Apr 2020

Talk Programmes

16 Apr 2020

101 One-On-One Ep.121 : “วิวาทะเรื่องแบงก์ชาติกับมาตรการช่วยเหลือตลาดการเงิน” กับ พิพัฒน์ เหลืองนฤมิตชัย

101 เปิดคอร์สเศรษฐศาสตร์การเงิน (และการเมือง) สนทนาเรื่องบทบาทใหม่ของธนาคารกลางกับการจัดการวิกฤตเศรษฐกิจ COVID-19 กับ ดร.พิพัฒน์ เหลืองนฤมิตชัย นักเศรษฐศาสตร์ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการบริษัทหลักทรัพย์ภัทร จำกัด (มหาชน) และคอลัมนิสต์ด้านเศรษฐศาสตร์ประจำ The101.world

101 One-on-One

16 Apr 2020
1 2 3

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save