fbpx

Life & Culture

22 Aug 2023

ฝรั่งเศส-เยอรมนี: จากศัตรูสู่คู่ปรับในสนามฟุตบอล

คอลัมน์ The Rivalry เดือนนี้ สมศักดิ์ จันทวิชชประภา เขียนถึงสองชาติมหาอำนาจ ‘ฝรั่งเศส-เยอรมนี’ ที่เป็นศัตรูกันตั้งแต่ก่อนยุครัฐชาติ มาจนถึงปัจจุบันในสนามฟุตบอล

สมศักดิ์ จันทวิชชประภา

22 Aug 2023

World

5 Jul 2023

ปากเสียงของแรงงานการศึกษาทั้งฝ่ายซ้ายและขวา: ทวิลักษณ์ของสหภาพแรงงานการศึกษาในเยอรมนี

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ เขียนถึงพัฒนาการของสหภาพแรงงานการศึกษาในเยอรมนี จากการรวมชาติถึงสิ้นสุดสงครามเย็น การดำรงอยู่ของสหภาพฯ ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ทางการเมืองที่พลิกผันตีลังกาเป็นรถไฟเหาะไปด้วย

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

5 Jul 2023

World

24 Apr 2023

‘สงครามรัสเซีย-ยูเครน’ ในมุมทูตยุโรป: 1 ปีที่สันติภาพยังคงเลือนราง

ตลอดกว่า 1 ปีที่ผ่านมา ยุโรปมองสงครามรัสเซีย-ยูเครนอย่างไร? สงครามได้เปลี่ยนยุโรปไปอย่างไรบ้าง? สงครามจะเป็นอย่างไรต่อไป? และอะไรที่จะเปิดโอกาสให้สันติภาพเกิดขึ้นได้อย่างแท้จริง? 101 ชวนอ่าน ‘สงครามรัสเซีย-ยูเครน’ ผ่านมุมมองของทูตสหภาพยุโรป โปแลนด์ เยอรมนี และฟินแลนด์

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

24 Apr 2023

World

18 Oct 2022

เมื่อสหายหิว: ความล้มเหลวทางอาหารในเยอรมนีตะวันออกก่อนรวมชาติ

มัธธาณะ รอดยิ้ม ชวนมองสภาพสังคมเยอรมนีตะวันออกก่อนรวมชาติ เมื่อรัฐบาลคอมมิวนิสต์ต้องเผชิญปัญหาขาดแคลนอาหาร

มัธธาณะ รอดยิ้ม

18 Oct 2022

Interviews

21 May 2022

Public Library ‘Outside In’ เปิดห้องสมุดสาธารณะผ่านมุมมองฝรั่งเศส-เยอรมนี

ในวันที่ห้องสมุดสาธารณะกำลังกลายเป็นหนึ่งในประเด็นสำคัญในการพัฒนา ‘เมืองกรุงเทพฯ’ ให้กลายเป็น ‘มหานครแห่งการเรียนรู้’ 101 ชวนมองความเปลี่ยนแปลงและแนวทางการพัฒนาห้องสมุดสาธารณะผ่านมุมมองแบบ ‘เทศมองไทย’ จากฝรั่งเศสและเยอรมนี สนทนากับห้องสมุดสถาบันเกอเธ่ ประเทศไทยและห้องสมุดมัลติมีเดียสมาคมฝรั่งเศส ว่าด้วยการออกแบบห้องสมุดสาธารณะกลายเป็นพื้นที่แห่งการเรียนรู้ในเมืองได้อย่างแท้จริง

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

21 May 2022

Life & Culture

19 May 2022

เยอรมนี-อังกฤษ: ศักดิ์ศรีจากสงครามที่ตามมาชำระกันในสนามฟุตบอล

คอลัมน์ The Rivalry เดือนนี้ สมศักดิ์ จันทวิชชประภา เขียนถึงคู่ปรับมหาอำนาจอย่าง ‘อังกฤษ-เยอรมนี’

สมศักดิ์ จันทวิชชประภา

19 May 2022

World

17 Feb 2022

เยอรมนีตะวันตก-ตะวันออก และ เวียดนามเหนือ-ใต้: ความทรงจำอันขมขื่น เมื่ออุดมการณ์แยกเราออกจากกัน

มัธธาณะ รอดยิ้ม เขียนถึงการแบ่งแยกทางอุดมการณ์และความทรงจำของคนเวียดนามและเยอรมนี อันเป็นผลพวงมาจากประวัติศาสตร์การแยกประเทศ

มัธธาณะ รอดยิ้ม

17 Feb 2022

อะไรก็ 'ช่าง'

24 Nov 2021

ถอดบทเรียนต่างประเทศ ไขสูตรสำเร็จปั้น ‘อาชีวศึกษา’ สู่กระดูกสันหลังสร้างชาติ

101 ชวนถอดบทเรียนประเทศที่ประสบความสำเร็จในการผลักดันอาชีวศึกษา จากที่เคยถูกมองข้ามจนขึ้นมาเป็นฟันเฟืองหลักแห่งการพัฒนาประเทศ โดยดูตัวอย่างจากเยอรมนี เกาหลีใต้ และสิงคโปร์

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา

24 Nov 2021

World

6 Oct 2021

การเมืองเยอรมนีหลัง Merkelism กับ จันจิรา สมบัติพูนศิริ

101 ชวน ดร.จันจิรา สมบัติพูนศิริ นักวิจัยประจำสถาบัน German Institute of Global and Area Studies (GIGA) และสถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มาวิเคราะห์การเมืองเยอรมนีและการเมืองโลกในยุคหลัง Merkelism

ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์

6 Oct 2021

World

4 Oct 2021

กำแพงเบอร์ลิน วันชาติเยอรมนีและวัฒนธรรมป็อป สู่ ‘ความเป็นชาติ’ ที่แปรเปลี่ยน

3 ตุลาคม เป็นวันชาติเยอรมนี มัธธาณะ รอดยิ้ม ชวนย้อนมองเส้นทางการรวมชาติเยอรมนี นับแต่การก่อตั้งสมาพันธรัฐเยอรมันที่รวบรวมรัฐที่ใช้ภาษาเยอรมัน ซึ่งนำไปสู่คำถามว่า ‘ความเป็นเยอรมัน’ คืออะไร

มัธธาณะ รอดยิ้ม

4 Oct 2021

World

27 Sep 2021

สิ้นสุด Merkelism?: 16 ปี เยอรมนีในมือ ‘อังเกลา แมร์เคิล’

ในวาระอำลาตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเยอรมนี 101 ชวนสำรวจมรดกทางการเมืองอันซับซ้อนตลอด 16 ปีของ อังเกลา แมร์เคิล พลังแห่งเสถียรภาพผู้ยืนหนึ่งท่ามกลางวิกฤตใหญ่ครั้งแล้วครั้งเล่า

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

27 Sep 2021

World

23 Sep 2020

บัญญัติ 7 ประการของฮิตเลอร์กับสงครามแย่งชิงมวลชน

วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ เขียนถึงหลักพื้นฐาน 7 ประการของการทำโฆษณาชวนเชื่อที่พรรคนาซีใช้จนสามารถปลุกระดมมวลชนให้คล้อยตามผู้มีอำนาจได้

วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์

23 Sep 2020

World

2 Jul 2020

ปฏิบัติการช่วงชิงความทรงจำ: คนธรรมดากับ “ก้อนหินสะดุด” ในเยอรมนี

จันจิรา สมบัติพูนศิริ ชวนทำความรู้จักกับ ‘ก้อนหินสะดุด’ ในฐานะนวัตกรรมการช่วงชิงความทรงจำที่บรรจุประวัติศาสตร์บาดแผลร่วมของชาวเยอรมันได้อย่างเป็นประชาธิปไตยและธรรมดาสามัญอย่างถึงที่สุด

จันจิรา สมบัติพูนศิริ

2 Jul 2020

Global Affairs

22 Apr 2020

รุ่งหรือร่วง? เปรียบเทียบบทบาท 6 ผู้นำโลกจัดการปัญหาโควิด

ณัชชาภัทร อมรกุล ชวนเช็คประสิทธิภาพของผู้นำอเมริกา อังกฤษ ฝรั่งเศส สิงคโปร์ เกาหลีใต้ และเยอรมนีในการรับมือกับวิกฤต COVID-19

กองบรรณาธิการ

22 Apr 2020

Film & Music

28 Mar 2020

The Silent Revolution หนุ่มสาว, อย่าให้เขาทุบทำลายเธอ

คอลัมน์หนังนอกรอบ วจนา วรรลยางกูร เขียนถึง The Silent Revolution ภาพยนตร์ที่พูดถึงการต่อต้านด้วยความเงียบสองนาทีของนักเรียนในเยอรมนีตะวันออกช่วงสงครามเย็น

วจนา วรรลยางกูร

28 Mar 2020
1 2

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save