fbpx

Social Issues

14 Dec 2023

เพราะอากาศเปลี่ยนแปลงบ่อย: ตีโจทย์ยุคโลกเดือดอย่างไรเพื่ออยู่ร่วมให้ได้-ไปต่อให้เป็น

ตีโจทย์วิจัยและนโยบายเพื่อรับมือ ‘โลกเดือด’ ผ่านข้อถกเถียงทางวิทยาศาสตร์ แนวคิดใหม่ว่าด้วยการผลิตอาหาร และความยุติธรรม

ชลิดา หนูหล้า

14 Dec 2023

Media

15 Nov 2023

Research and Policy Dialogue : ‘ตั้งโจทย์+ตอบอนาคต ประเทศไทยในบริบทโลกใหม่’ ครั้งที่ 4: ‘ประเทศไทยในโลกเดือด (Global Boiling)’

สำรวจสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศจาก “โลกร้อน” “โลกรวน” สู่ “โลกเดือด” เข้าใจความเสี่ยงและผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศสุดขั้วที่มีต่อไทยและโลกอย่างรอบด้าน ประเมินความพร้อมของยุทธศาสตร์และนโยบายที่มีในการรับมือ มองหาโอกาสและทางรอดที่เท่าทันต่อภาวะวิกฤต

กองบรรณาธิการ

15 Nov 2023

Social Issues

19 Oct 2023

มนุษย์กาญ่าแห่งนูนีนอย

เพชร มโนปวิตร เขียนถึงหนังสือ ‘มนุษย์กาญ่า’ ที่เขียนโดยอ้อย-สรณรัชฎ์ ทาบทับกับฉากธรรมชาติที่ทุ่งน้ำนูนีนอยในเชียงดาว เราจะเปลี่ยนจาก ‘โฮโม เซเปียนส์’ ผู้อหังการ์  ไปสู่ ‘โฮโม กาญ่า’ ได้อย่างไร

เพชร มโนปวิตร

19 Oct 2023

Sustainability

17 Mar 2023

ในสังคมที่ต้องการผู้กล้า เราจะรับมือกับ SLAPP การฟ้องปิดปากเรื่องสิ่งแวดล้อมอย่างไร?

วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ เขียนถึงกรณีการดำเนินคดีเชิงยุทธศาสตร์เพื่อหยุดยั้งการเคลื่อนไหวของภาคประชาชนต่อประเด็นด้านสิ่งแวดล้อม

วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์

17 Mar 2023

Thailand: The Great Reset

10 Feb 2022

เมื่อโลกไม่มีใบที่สอง นโยบายสิ่งแวดล้อมต้องไม่ใช่ประเด็นรองอีกต่อไป กับ เพชร มโนปวิตร

101 สนทนากับ ดร.เพชร มโนปวิตร ถึงปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลกที่ใกล้เดินถึงจุดที่ไม่อาจแก้ไขได้ พร้อมร่วมเสนอแนะหาแนวนโยบายที่เหมาะสมสำหรับประเทศไทย

กองบรรณาธิการ

10 Feb 2022

Sustainability

11 Nov 2021

เจาะประเด็นสิ่งแวดล้อม ‘COP26’ เมื่อโลกไม่มีใบที่สอง กับ เพชร มโนปวิตร

101 ชวน ดร.เพชร มโนปวิตร นักวิทยาศาสตร์ด้านการอนุรักษ์ เลขาธิการมูลนิธิโลกสีเขียว และผู้ร่วมก่อตั้ง ReReef สนทนาถึงปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลกที่ใกล้เดินถึงจุดที่ไม่อาจแก้ไขได้ พร้อมเจาะลึกผลการประชุม COP26 ว่าเพียงพอหรือล้มเหลวที่จะพามนุษยชาติให้รอดพ้นจากปัญหานี้

กองบรรณาธิการ

11 Nov 2021

Media

8 Nov 2021

101 One-on-One Ep.245 เจาะประเด็นสิ่งแวดล้อม ‘COP26’ เมื่อโลกไม่มีใบที่สอง กับ เพชร มโนปวิตร

101 ชวน ดร.เพชร มโนปวิตร นักวิทยาศาสตร์ด้านการอนุรักษ์ เลขาธิการมูลนิธิโลกสีเขียว และผู้ร่วมก่อตั้ง ReReef สนทนาถึงปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลกที่ใกล้เดินถึงจุดที่ไม่อาจแก้ไขได้ พร้อมเจาะลึกผลการประชุม COP26 ว่าเพียงพอหรือล้มเหลวที่จะพามนุษยชาติให้รอดพ้นจากปัญหานี้

101 One-on-One

8 Nov 2021

Life & Culture

25 Sep 2021

[ความน่าจะอ่าน] The World Without Us เมื่อโลกไม่มีเรา: ต้นธารแนวคิดการฟื้นชีวิตธรรมชาติ (Rewilding)

เพชร มโนปวิตร เขียนถึงหนังสือ ‘เมื่อโลกไม่มีเรา’ 1 ใน 11 Top Highlights ความน่าจะอ่าน 2021 โลกจะฟื้นฟูตัวเองอย่างไร ในวันที่ไม่มีมนุษย์อยู่

เพชร มโนปวิตร

25 Sep 2021

Issue of the Age

22 Jun 2020

เศรษฐกิจแพลตฟอร์ม : โฉมหน้าสิ่งแวดล้อมของวันพรุ่งนี้ กับ เพชร มโนปวิตร

สัมภาษณ์ ดร.เพชร มโนปวิตร ว่าด้วยผลกระทบของเศรษฐกิจแพลตฟอร์มต่อสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจแพลตฟอร์มจะมาในฐานะวายร้ายหรือพระเอก มีโมเดลของประเทศไหนที่แก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมอย่างชะงัด และประชาธิปไตยสำคัญอย่างไร

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

22 Jun 2020

Sustainability

13 May 2020

เมื่อโลกป่วยเราก็ป่วย: ทำไมต้องรักษาธรรมชาติเพื่อหยุดโรคระบาดครั้งต่อไป  

เพชร มโนปวิตร ชี้ประเด็นเรื่องการรักษาธรรมชาติ เพื่อช่วยให้โลกอยู่ต่อไปได้ และยังช่วยป้องกันการแพร่ระบาดอย่างร้ายแรงของเชื้อโลกด้วย

เพชร มโนปวิตร

13 May 2020

Issue of the Age

15 Apr 2020

ฟื้นเศรษฐกิจด้วยการปกป้องสิ่งแวดล้อม (Green Stimulus) ทางรอดของโลกยุคหลัง COVID-19

เพชร มโนปวิตร เขียนถึงทางรอดในยุคหลังโควิด-19 ด้วยการปกป้องสิ่งแวดล้อม ซึ่งนอกจากจะฟื้นเศรษฐกิจแล้ว ยังช่วยฟื้นฟูโลกได้อีกด้วย

เพชร มโนปวิตร

15 Apr 2020

Issue of the Age

30 Jan 2020

วิกฤตโรคอุบัติใหม่กับการค้าสัตว์ป่า

เพชร มโนปวิตร เขียนถึงการค้าสัตว์ป่าในจีนและหลายพื้นที่ในโลกที่ทำให้เกิดโรคอุบัติใหม่ ซึ่งล้วนเป็นโรคที่ติดต่อจากสัตว์สู่คน วิกฤตครั้งนี้มนุษย์ควรรับมืออย่างไร

เพชร มโนปวิตร

30 Jan 2020

Sustainability

30 Dec 2019

จิตสำนึกคงยังไม่พอ : ทำไมผู้ผลิตสินค้าต้องร่วมรับผิดชอบในการแก้ปัญหาขยะพลาสติก

เพชร มโนปวิตร เขียนถึงความรับผิดชอบของบริษัทที่ผลิตพลาสติกเข้าสู่ท้องตลาด ซึ่งเป็นหนึ่งในกลไกสำคัญที่จะช่วยลดพลาสติกบนโลกได้

เพชร มโนปวิตร

30 Dec 2019

Sustainability

19 Sep 2019

วาฬคืนเมือง บทพิสูจน์ว่าการอนุรักษ์ยังไม่สายเกินไป

เพชร มโนปวิตร เขียนถึงปรากฏการณ์ ‘วาฬคืนเมือง’ ในนิวยอร์ก ที่เป็นส่วนสำคัญในการหมุนเวียนแร่ธาตุในมหาสมุทร และส่งผลต่ออากาศที่มนุษย์ใช้หายใจ หนึ่งในตัวอย่างการฟื้นฟูธรรมชาติที่ทำสำเร็จในยุคสมัยนี้

เพชร มโนปวิตร

19 Sep 2019
1 2

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save