fbpx

Media

23 Sep 2022

101 In Focus Ep.147: ‘Error Childhood’ การเรียนรู้ที่หล่นหายของเด็กเล็กไทย

101 In Focus คุยกันเรื่องปัญหาภาวะการเรียนรู้ถดถอยของเด็กปฐมวัย ผลร้ายที่จะตกค้างต่อพัฒนาการของเด็ก บทเรียนการจัดการการศึกษาในภาวะวิกฤต จนถึงทางออกที่จะฟื้นฟูการเรียนรู้ของเด็ก

กองบรรณาธิการ

23 Sep 2022

Social Issues

13 Sep 2022

เด็กเล็กไทยสูญเสียการเรียนรู้แค่ไหนจากโควิด-19?

โควิด-19 ทำให้โลกชะงัก และทำให้การศึกษาต้องสะดุด โดยเฉพาะกับเด็กปฐมวัยที่ต้องหยุดไปโรงเรียนจนเกิดภาวะการเรียนรู้ถดถอย

วจนา วรรลยางกูร

13 Sep 2022

Projects

8 Sep 2022

‘จับดินสอผิด-ไม่มีสมาธิ-เขียนหนังสือกลับด้าน’ : มอง ‘การเรียนรู้ถดถอย’ ในเด็กเล็ก ผ่านสายตาครู-ผู้ปกครอง

จากภาวะโควิด-19 ทำให้สถานศึกษาต้องหันไปใช้ระบบเรียนออนไลน์ชั่วคราว ยังผลให้เกิดภาวะการเรียนรู้ถดถอยหรือ Learning Loss ในเหล่าเด็กปฐมวัยที่ต้องอยู่บ้านเป็นเวลานาน

101 ชวนสำรวจประเด็นนี้ผ่านสายตาของครูกับผู้ปกครองเด็กเล็ก

พิมพ์ชนก พุกสุข

8 Sep 2022

Error Childhood: การเรียนรู้ที่หล่นหาย

7 Sep 2022

Error Childhood: การเรียนรู้ที่หล่นหาย

101 คุยกับ รศ.ดร.วีระชาติ กิเลนทอง ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยเพื่อการประเมินและออกแบบนโยบาย (RIPED) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ถึงความรุนแรงของปัญหาการเรียนรู้ถดถอย และทางออกสู่การฟื้นฟูการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย

กองบรรณาธิการ

7 Sep 2022

Social Issues

5 Sep 2022

วีระชาติ กิเลนทอง : เด็กเล็กไทยกับ ‘Learning Loss’ บาดแผลทางการศึกษาที่รอเยียวยา

101 คุยกับ รศ.ดร.วีระชาติ กิเลนทอง เรื่องความพร้อมในการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยไทย ความรุนแรงของปัญหาการเรียนรู้ถดถอย และทางออกสู่การฟื้นฟูการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย

วจนา วรรลยางกูร

5 Sep 2022

Spotlights

17 Aug 2021

ทำความเข้าใจ – ทำไมเงินอุดหนุนเด็กเล็กต้องถ้วนหน้า?

101 ชวนคุณมาทำความเข้าใจว่า ‘ทำไมเงินอุดหนุนเด็กเล็กต้องถ้วนหน้า?’ เริ่มตั้งแต่ทำความเข้าใจสวัสดิการเงินอุดหนุนเด็กเล็ก ตลอดจนตอบคำถามคาใจที่ว่า นโยบายดี แต่ไม่มีงบประมาณจะทำยังไง?

ภาวิณี คงฤทธิ์

17 Aug 2021

Education

9 Oct 2020

อย่าหยุดที่ยอดภูเขาน้ำแข็ง: ถึงเวลา ‘ผ่าตัด’ นโยบายการพัฒนาเด็กปฐมวัย

สรุปประเด็นสำคัญจากเวทีระดมข้อเสนอต่อคณะกรรมการนโยบายการพัฒนาเด็กปฐมวัย “ผ่าตัดนโยบายให้เด็กปฐมวัยมีพื้นที่เรียนรู้ที่สร้างสรรค์และปลอดภัย” ร่วมหาแนวทางการจัดการการศึกษาปฐมวัยในไทย

ชลิดา หนูหล้า

9 Oct 2020

Innerscape

15 Jan 2020

Innerscape Ep.1 “ศิลปะบนผืนใจคืออะไร”

Innerscape Ep.1 สนทนาถึงความหมายของ ‘innerscape’ และชวนย้อนมองศิลปะสมัยที่เรายังเป็นเด็ก เส้นที่เราวาดอย่างไม่มีระเบียบแบบแผน ลากไปบนกระดาษ บนเฟอร์นิเจอร์ในบ้าน หรือบนพื้นทราย ศิลปะชิ้นนั้นเกี่ยวข้องกับการเติบโตของเราอย่างไร

ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์

15 Jan 2020

Happy Family

3 Oct 2019

“สนามเด็กเล็ก” : ทุกข์หรือสุขของพ่อแม่

Spotlight #สนามเด็กเล็ก จะเจาะประเด็นเด็กเล็กอย่างรอบด้าน ตั้งแต่เรื่องการเลี้ยงลูกตามพัฒนาการเด็ก, สำรวจ พ.ร.บ.การพัฒนาเด็กปฐมวัย, วิวาทะว่าด้วยการสอบเข้า ป.1, เศรษฐศาสตร์ว่าด้วยเด็กปฐมวัย, เปิดโลกจิตวิทยาเด็ก, ความกังวลของพ่อแม่ยุคใหม่ ไปจนถึง การแข่งขันหาโรงเรียนให้ลูก

กองบรรณาธิการ

3 Oct 2019

Happy Family

20 Sep 2019

101 in focus EP.8 : เจาะลึก Early Childhood แบบไทยๆ

เจาะลึก Early Childhood แบบไทยๆ ทำไม ‘เด็กปฐมวัย’ ถึงควรได้รับการดูแลเป็นพิเศษ การศึกษาของสังคมไทยที่ผ่านมาส่งเสริมหรือทำลายการเรียนรู้ของเด็กวัยนี้กันแน่ การสอบเข้า ป.1 ทำให้เด็กมีความสุขได้จริงไหม พ.ร.บ.การพัฒนาเด็กปฐมวัย คืออะไร

กองบรรณาธิการ

20 Sep 2019

Education

6 Sep 2019

Workshops : เคล็ดลับวิธีรักลูก สไตล์ ‘พ่อแม่รังแกฉัน’

คุณรู้หรือไม่ เด็กปฐมวัยมีภาวะเครียดจากการต้องเร่งเรียนเพื่อสอบ ป.1 เพราะต้องแข่งขันกันสอบเข้าโรงเรียนชื่อดังที่มีอัตราการรับ 1 ต่อ 20

คุณรู้หรือเปล่า เด็กเล็กของไทยมีพัฒนาการที่ไม่สมวัยกว่า 32%

อะไรคือทางออกในการคัดเลือกเด็กเข้า ป. 1?
วิธีไหนไม่ควรทำ ถ้าอยากส่งเสริมพัฒนาการการเด็กเล็กให้สมวัย?
แล้วรัฐควรมีส่วนร่วมอย่างไร เพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็กเล็กให้สมวัยอย่างยั่งยืน?

กองบรรณาธิการ

6 Sep 2019

Happy Family

3 Sep 2019

Heart of Early Childhood : หัวใจของวัยอนุบาล

101 ชวนเปิดใจคนที่เกี่ยวข้องกับการสร้างพัฒนาการเด็กปฐมวัย ในเรื่อง ‘Heart of Early Childhood : หัวใจของวัยอนุบาล’ หนึ่งในซีรีส์ ‘สนามเด็กเล็ก : ทุกข์หรือสุขของพ่อแม่’ ประจำเดือนกันยายน

กองบรรณาธิการ

3 Sep 2019

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save