fbpx

Europe

14 Sep 2023

จะมีรัฐสวัสดิการ รัฐบาลต้องทำอะไรบ้าง ? : สำรวจการทำงานของรัฐบาลเดนมาร์ก

โกษม โกยทอง เขียนถึงเบื้องหลังการจัดการและระบบการสร้างรัฐสวัสดิการที่เข้มแข็งของรัฐบาลเดนมาร์ก เพื่อสร้างตาข่ายสังคมให้ประชาชนอย่างเท่าเทียม

โกษม โกยทอง

14 Sep 2023

World

28 Jun 2023

Greenland amidst Arctic Powerplay: ‘กรีนแลนด์’ ท่ามกลางสามเหลี่ยมยุทธศาสตร์อาร์กติก

ศิวัชฐ์ วรรณโกมล เขียนถึง ‘กรีนแลนด์’ ในยุคสมัยที่ภูมิรัฐศาสตร์และความตึงเครียดจากการแข่งขันระหว่างมหาอำนาจคืบคลานเข้าไปในอาร์กติก และหนทางที่กรีนแลนด์จะดำเนินนโยบายเพื่อสร้างสมดุลระหว่างมหาอำนาจสองค่ายให้ตอบโจทย์ที่สุด

ศิวัชฐ์ วรรณโกมล

28 Jun 2023

World

23 May 2023

การเปลี่ยนแปลงอาจมาจากเบื้องบน

คอลัมน์ ‘เลียบขั้วโลก’ ปรีดี หงษ์สต้น ชวนสำรวจอุตสาหกรรมนมของเดนมาร์ก ที่โยงไปถึงประวัติศาสตร์การสูญเสียดินแดนหลังเดนมาร์กพ่ายสงคราม!

ปรีดี หงษ์สต้น

23 May 2023

World

23 Mar 2023

การเลือกตั้งของกรีนแลนด์ กับอิสรภาพจากเดนมาร์ก

ในวาระที่ประเทศไทยกำลังเข้าสู่การเลือกตั้งใหญ่ คอลัมน์ ‘เลียบขั้วโลก’ โดย ปรีดี หงษ์สต้น จึงชวนสำรวจการเลือกตั้งของกรีนแลนด์ ที่เป็นปัจจัยสำคัญในการปลดแอกจากเดนมาร์ก

ปรีดี หงษ์สต้น

23 Mar 2023

World

26 Sep 2022

ยุคทองของเดนมาร์ก (The Danish Golden Age)

เดนมาร์กในช่วงครึ่งแรกของคริสต์ศตวรรษที่ 19 นับเป็นหนึ่งในยุคทองที่น่าจับตา เพราะมีการเปลี่ยนแปลงเคลื่อนไหวทั้งในเชิงการเมือง สังคมตลอดจนศิลปะ หากแต่ในมุมกลับ มันได้ซ่อนวิกฤตบางประการไว้เช่นกัน

ปรีดี หงษ์สต้น

26 Sep 2022

World

21 Jun 2022

อาณานิคมเดนมาร์กในกรีนแลนด์

ปรีดี หงษ์สต้น เขียนถึงประวัติศาสตร์การล่าอาณานิยมในกรีนแลนด์ของเดนมาร์ก ที่กลบซ่อนความโหดร้ายไว้ด้วยการสร้างความทรงจำใหม่ให้เสมือนเป็นเจ้าอาณานิยมที่แสนเมตตา

ปรีดี หงษ์สต้น

21 Jun 2022

Europe

16 May 2022

เพราะชาติคือประชาชน: เส้นทางการสร้างรัฐสวัสดิการในเดนมาร์ก

โกษม โกยทอง เขียนถึง เส้นทางการก่อสร้างร่างรัฐสวัสดิการในเดนมาร์ก ซึ่งมีประชาชนเป็นพลังสำคัญในการต่อสู้และขับเคลื่อนให้รัฐสวัสดิการเกิดขึ้นจริง

โกษม โกยทอง

16 May 2022

column name

5 Jan 2022

เก้าอี้เดนมาร์กที่เพิ่งสร้าง

ปรีดี หงษ์สต้น ชวนมองย้อนประวัติศาสตร์ที่เดนมาร์กเพิ่งสร้างผ่านการออกแบบเก้าอี้อันแสนเปี่ยมเอกลักษณ์และเป็นที่รู้จักไปทั่วโลก ว่ามันมีเรื่องราว กลไกและการเมืองแบบใดซุกซ่อนอยู่บ้าง

ปรีดี หงษ์สต้น

5 Jan 2022

World

26 Jul 2021

ความยืดหยุ่นแต่มั่นคงของช่างไม้เดนมาร์กสมัยก่อน

คอลัมน์ #เลียบขั้วโลก ตอนใหม่ ปรีดี หงษ์สต้น เขียนถึงระบบ ‘ยืดหยุ่นแต่มั่นคง’ ระบบทางสังคมที่ประกันคุณภาพชีวิตของแรงงานไปพร้อมกับการเติบโตของตลาด

ปรีดี หงษ์สต้น

26 Jul 2021

Life & Culture

17 Jun 2021

อีริคเซน-บีบีซี-ยูฟ่า การตั้งคำถามถึงความเหมาะสมในการออกอากาศในระหว่างความเป็น-ความตาย

สมศักดิ์ จันทวิชชประภา ชวนย้อนดูเสียงวิจารณ์และเบื้องหลังการทำงานการถ่ายทอดสดเหตุการณ์คริสเตียน อีริคเซนล้มลงในสนามในการแข่งขันฟุตบอลยูโร 2020

สมศักดิ์ จันทวิชชประภา

17 Jun 2021

World

25 May 2021

เดนมาร์กและกรณียกเว้นของความทรงจำอาณานิคม

คอลัมน์ #เลียบขั้วโลก ตอนใหม่ ปรีดี หงษ์สต้น เขียนถึงความพยายามในการจัดการความทรงจำอันเลวร้ายของเดนมาร์กเกี่ยวกับประวัติศาสตร์การครอบครองอาณานิคม ผ่านการนำเสนอว่าเดนมาร์กนั้นเป็น ‘กรณียกเว้น’ เมื่อเทียบกับประเทศเจ้าอาณานิคมยุโรปอื่นๆ

ปรีดี หงษ์สต้น

25 May 2021

World

23 Dec 2020

กรณีคำสั่งฆ่ามิงค์ 17 ล้านตัวในเดนมาร์กกับบทเรียนเรื่องสิ่งแวดล้อม

ปรีดี หงษ์สต้น เขียนถึง บทเรียนสิ่งแวดล้อมผ่านสถานการณ์การกลายพันธุ์ของเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ในฟาร์มมิงค์ของเดนมาร์ก จนเป็นที่มาของคำสั่งฆ่ามิงค์ 17 ล้านตัวเพื่อป้องกันการแพร่ระบาด

ปรีดี หงษ์สต้น

23 Dec 2020

World

27 Feb 2020

ในนามของการปกปักรักษาแสงสว่าง: บทเรียนสั้นๆ ในราชสำนักเดนมาร์ก

ปรีดี หงษ์สต้น เขียนถึงการปรับตัวของราชสำนักเดนมาร์ก ช่วงศตวรรษที่ 18 หลังกระแสความคิดยุคแสงสว่างได้เข้าไปปะทะกับอำนาจอนุรักษนิยม

ปรีดี หงษ์สต้น

27 Feb 2020

Film & Music

2 Dec 2019

โลกของ ‘เมียฝรั่ง’ เรื่องเล่าที่ไม่มีผู้ชายอีสาน ในสังคมที่ไม่มีอนาคต

วจนา วรรลยางกูร เขียนถึงสารคดี Heartbound เรื่องการแต่งงานข้ามชาติของสาวอีสานกับผู้ชายเดนมาร์ก ที่เกิดจากการจับคู่ของ ‘สมหมาย’ หญิงไทยคนแรกในหมู่บ้านที่เดนมาร์ก

วจนา วรรลยางกูร

2 Dec 2019

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save