fbpx

Life & Culture

21 Sep 2021

[ความน่าจะอ่าน] ‘เศรษฐศาสตร์ความจน’ ทำความเข้าใจความจน ก้าวพ้นมายาคติ

อิสร์กุล อุณหเกตุ เขียนถึงหนังสือ ‘เศรษฐศาสตร์ความจน’ (Poor Economics) ผลงานจากสองนักเศรษฐศาสตร์รางวัลโนเบล 1 ใน 11 Top Highlights ‘ความน่าจะอ่าน 2021’ ว่าด้วยมายาคติที่ฝังลึกเกี่ยวกับความยากจน และการก้ามข้ามกับดักความจน

อิสร์กุล อุณหเกตุ

21 Sep 2021

Economy

23 Jun 2021

เชื่อหมอ ไม่เชื่อหมา: เศรษฐศาสตร์สถาบันว่าด้วยความไว้เนื้อเชื่อใจ

อิสร์กุล อุณหเกตุ เขียนถึงข้อกังขาของสาธารณชนต่อวัคซีนโควิด-19 ซึ่งอาจจะส่งผลกับความไว้เนื้อเชื่อใจที่ประชาชนมีต่อวงการสาธารณสุข

อิสร์กุล อุณหเกตุ

23 Jun 2021

Political Economy

13 May 2021

ค่าของคนอยู่ที่คนของใคร: เตียงผู้ป่วย แป๊ะเจี๊ยะ และตั๋วช้าง

อิสร์กุล อุณหเกตุ เขียนถึงการใช้ ‘เส้นสาย’ ที่สะท้อนสภาพปัญหาสังคมไทย ผ่านกรณีตั๋วช้าง แป๊ะเจี๊ยะ และเตียงผู้ป่วยโควิด-19

อิสร์กุล อุณหเกตุ

13 May 2021

Politics

19 Mar 2021

ข้อมูลเปิดคืออะไร ทำไมเราต้องแคร์

อิสร์กุล อุณหเกตุ เขียนถึงเรื่องข้อมูลเปิดที่อาจช่วยในเรื่องการพัฒนาประชาธิปไตย รวมถึงการอภิบาลข้อมูลภาครัฐของไทย

อิสร์กุล อุณหเกตุ

19 Mar 2021

Political Economy

1 Mar 2021

พูดไปสองไพเบี้ย?: เศรษฐศาสตร์ว่าด้วยการอภิปรายไม่ไว้วางใจ

อิสร์กุล อุณหเกตุ เขียนถึงเศรษฐศาสตร์ว่าด้วยการอภิปรายไม่ไว้วางใจ – อะไรคือภาวะลงเรือลำเดียวกัน และทำไม ส.ส. ถึงยอม ‘ล่มหัวจมท้าย’ ยกมือโหวตไว้วางใจให้รัฐบาล

อิสร์กุล อุณหเกตุ

1 Mar 2021

Political Economy

24 Dec 2020

สังคมนิยมไม่ใช่คำตอบ: มุมมองผ่านแว่นตาของดักลาส นอร์ธ

อิสร์กุล อุณหเกตุ ชวนอ่านมุมมองเกี่ยวกับระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยมที่เคยเกิดขึ้นจริงในประวัติศาสตร์เศรษฐกิจโลก ผ่านกรอบแนวคิดแบบสำนักเศรษฐศาสตร์สถาบันแนวใหม่ (NIEs) ของดักลาส นอร์ธ

อิสร์กุล อุณหเกตุ

24 Dec 2020

Economic Focus

7 Oct 2019

มองว่าที่นักเศรษฐศาสตร์รางวัลโนเบล จาก ‘เหรียญจอห์น เบตส์ คลาร์ก’

อิสร์กุล อุณหเกตุ มองตัวเก็งผู้ชนะรางวัลโนเบลสาขาเศรษฐศาสตร์จาก ‘เหรียญรางวัลจอห์น เบตส์ คลาร์ก’ ซึ่งเป็นรางวัลที่ปูทางไปสู่รางวัลโนเบลให้นักเศรษฐศาสตร์จำนวนมาก

อิสร์กุล อุณหเกตุ

7 Oct 2019

Thai Politics

11 Jun 2019

ทำไมนักการเมือง (บางพรรค) จึงไม่รักษาสัญญา? : มุมมองเชิงเศรษฐศาสตร์สถาบัน

อิสร์กุล อุณหเกตุ เขียนถึงสาเหตุที่นักการเมือง (บางพรรค) ไม่รักษาสัญญาที่ให้ไว้กับประชาชน เมื่อนักเศรษฐศาสตร์สถาบันเชื่อว่านักการเมืองไม่ได้ผิดสัญญาจากกมลสันดาน แต่เกิดจากโครงสร้างแรงจูงใจผิดๆ

อิสร์กุล อุณหเกตุ

11 Jun 2019

Politics

5 Mar 2019

มอง ‘Fake News’ ช่วงเลือกตั้งผ่านแว่นตานักเศรษฐศาสตร์

อิสร์กุล อุณหเกตุ มอง ‘ข่าวปลอม’ (fake news) ด้วยมุมของนักเศรษฐศาสตร์ พุ่งเป้าไปยังข่าวปลอมที่มีอิทธิพลต่อผลการเลือกตั้ง จากกรณีศึกษาของอเมริกายุคทรัมป์ ถึงกรณีของไทยในยุค คสช.

อิสร์กุล อุณหเกตุ

5 Mar 2019

Politics

8 Nov 2018

มอง ‘รัฐประหาร’ ผ่านสายตานักเศรษฐศาสตร์สถาบัน

อิสร์กุล อุณหเกตุ วิเคราะห์เหตุปัจจัยของการทำรัฐประหาร ผ่านแว่นของนักเศรษฐศาสตร์สถาบัน ซึ่งชี้ว่ารัฐประหารสามารถเกิดขึ้นได้ ทั้งในระบอบการเมืองที่เป็น และไม่เป็นประชาธิปไตย โดยมี ‘ผลประโยชน์ของกองทัพ’ เป็นตัวแปรสำคัญ

อิสร์กุล อุณหเกตุ

8 Nov 2018

Social Issues

13 Aug 2018

ทรัพย์สินนี้ ‘ท่าน’ ได้แต่ใดมา

อิสร์กุล อุณหเกตุ ตั้งข้อสังเกตถึงกฎหมายฉบับใหม่ที่กำหนดให้เจ้าหน้าที่รัฐกว่า 2 ล้านคน ต้องเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับทรัพย์สินของตัวเอง การคอร์รัปชั่นจะลดลงได้จริงหรือ? อะไรคือสิ่งที่เราควรกังวล? และอะไรคือสิ่งที่เราควรคาดหวัง?

อิสร์กุล อุณหเกตุ

13 Aug 2018

Politics

2 Jul 2018

ประเทศอันอุดมสมบูรณ์ด้วย “คณะยอดมนุษย์”

อิสร์กุล อุณหเกตุ ตั้งคำถามถึงระบบ “คณะกรรมการ” ในกฎหมายไทย ซึ่งมีจำนวนหลายร้อยชุด ประกอบด้วยกรรมการหลายพันตำแหน่ง และข้าราชการการเมืองและข้าราชการประจำในตำแหน่งสำคัญต้องนั่งเป็นกรรมการหลายสิบตำแหน่ง จนอดตั้งคำถามไม่ได้ว่า ฤาประเทศไทยนี้จะอุดมสมบูรณ์ไปด้วยยอดมนุษย์

อิสร์กุล อุณหเกตุ

2 Jul 2018

Political Economy

14 Jun 2018

บอลโลก 2018 ฉบับนอกสนาม

ฟุตบอลโลกรอบสุดท้ายที่รัสเซียกำลังจะเปิดฉากขึ้นในอีกไม่กี่อึดใจ นอกจากการบรรเลงเพลงแข้งของยี่สิบสองนักเตะบนพื้นหญ้า และสีสันของกองเชียร์บนอัฒจันทร์แล้ว ประเด็นต่างๆ ที่เกิดขึ้นนอกสนามก็น่าสนใจไม่แพ้กัน ดังนั้น ก่อนที่เสียงนกหวีดแรกจะดังขึ้น บทความนี้จึงอยากชวนดูฟุตบอลโลกคราวนี้ในมิติอื่นๆ ที่ไม่ใช่แค่เรื่องฟุตบอล

อิสร์กุล อุณหเกตุ

14 Jun 2018

Business

2 Apr 2018

Winner’s Curse: ทีวีดิจิทัลกับคำสาปของผู้ชนะ?

อิสร์กุล อุณหเกตุ วิเคราะห์ต้นตอของปัญหาของผู้ประกอบกิจการทีวีดิจิทัลในเมืองไทย เหตุใดอุตสาหกรรมมูลค่านับแสนล้านบาทจึงสร้างผู้แพ้มากกว่าผู้ชนะ

อิสร์กุล อุณหเกตุ

2 Apr 2018

Social Issues

12 Mar 2018

ดัชนีภาพลักษณ์การคอร์รัปชัน : ความเข้าใจผิดและความคาดหวังของ ป.ป.ช.

อิสร์กุล อุณหเกตุ ตีแผ่เบื้องหน้าและเบื้องหลังของดัชนีภาพลักษณ์การคอร์รัปชัน (Corruption Perception Index – CPI) ปีล่าสุด และตั้งคำถามถึงองค์กรหลักที่ทำหน้าที่ต่อต้านคอร์รัปชันอย่าง ป.ป.ช.

อิสร์กุล อุณหเกตุ

12 Mar 2018
1 2

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save