fbpx

World

8 May 2023

ยุทธศาสตร์อินโด-แปซิฟิก 2023: ยุคใหม่ของนโยบายต่างประเทศบังกลาเทศ

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก เขียนถึง ‘ยุทธศาสตร์อินโด-แปซิฟิก’ ของบังคลาเทศ ที่พยายามสร้างสมดุลและและหาช่องผสานประโยชน์ร่วมกับทุกฝ่าย ท่ามกลางความตึงเครียดระหว่างมหาอำนาจสหรัฐฯ-จีน ที่ปกคลุมมายังเอเชียใต้

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

8 May 2023

World

29 Mar 2023

อนาคตร่วม: วิสัยทัศน์สหภาพยุโรป อาเซียน และไทยต่อ ‘อินโด-แปซิฟิก’

101 ชวนทบทวนถึงวิสัยทัศน์และประโยชน์เชิงยุทธศาสตร์ของสหภาพยุโรปสำหรับความร่วมมือในภูมิภาคอินโด-แปซิฟิก ตลอดจนถึงผลลัพธ์ต่อไทยและอาเซียน ในยุคสมัยที่อินโด-แปซิฟิกคืออนาคตร่วมของนานาประเทศทั่วโลก

เพ็ญพิชชา มุ่งงาม

29 Mar 2023

World

27 Dec 2022

สงคราม-มหาอำนาจแยกขั้ว: การเมืองโลก 2022 กลางทวิวิกฤต

101 ชวนย้อนมองระเบียบโลกปี 2022 เมื่อโลกกำลังเข้าสู่การเปลี่ยนผ่านดุลอำนาจไปสู่สองขั้วอำนาจระหว่างจีน-สหรัฐฯ และเต็มไปด้วยความตึงเครียดทางภูมิรัฐศาสตร์ที่ปะทุขึ้นทั้งในสงครามรัสเซีย-ยูเครน ช่องแคบไต้หวัน และอินโด-แปซิฟิก

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

27 Dec 2022

World

8 Nov 2022

Is America Back? สหรัฐฯ โลก และเอเชียแปซิฟิกหลัง America must lead again – ประพีร์ อภิชาติสกล

101 สนทนากับ ประพีร์ อภิชาติสกล วิเคราะห์บทบาทการนำโลกและการกลับมาปักหมุดในเอเชียของสหรัฐฯ หลังออกจากโหมดโดดเดี่ยว ไปจนถึงความสัมพันธ์ไทย-สหรัฐฯ ในยุคที่ซับซ้อนผันผวนมากที่สุดยุคหนึ่ง

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

8 Nov 2022

Asean

26 Apr 2022

จากมหายุทธศาสตร์อินโด-แปซิฟิก สู่กรอบความร่วมมือเศรษฐกิจอินโด-แปซิฟิก และสิ่งที่อาเซียนต้องเข้าใจ

ปิติ ศรีแสงนาม วิเคราะห์การเจรจากรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจอินโด-แปซิฟิก ระหว่างสหรัฐฯ-อาเซียน ซึ่งคาดว่าจะเกิดขึ้นระหว่างการประชุมสุดยอดผู้นำอาเซียน-สหรัฐฯ ในเดือนพฤษภาคมนี้

ปิติ ศรีแสงนาม

26 Apr 2022

World

11 Oct 2021

ชวนคุยเรื่อง AUKUS: ว่าด้วยศึกภูมิรัฐศาสตร์ที่ยังไม่มีคำตอบ และอนาคตการแพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์ที่ไม่แน่นอน

จิตทิพย์ มงคลชัยอรัญญา ชวนคิดต่อว่าด้วยผลที่ยัง ‘คาดการณ์ได้ยาก’ ของยุทธศาสตร์ AUKUS ต่อพลวัตทางภูมิรัฐศาสตร์ในภูมิภาคอินโดแปซิฟิก และความท้าทายต่อการไม่แพร่ขยายอาวุธนิวเคลียร์ระดับโลกที่ตามมาจากความร่วมมือเรือดำน้ำพลังงานนิวเคลียร์ระหว่างสามประเทศพันธมิตร

จิตทิพย์ มงคลชัยอรัญญา

11 Oct 2021

Asia

16 Nov 2020

The QUAD พันธมิตรปิดล้อมจีน?

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก ตอบคำถามคาใจว่า The QUAD เวทีความร่วมมือด้านความมั่นคงระหว่างญี่ปุ่น-อินเดีย-สหรัฐอเมริกา-ออสเตรเลียสร้างมาเพื่อปิดล้อมจีนจริงหรือไม่ รวมทั้งวิเคราะห์อนาคตของความร่วมมือนี้

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

16 Nov 2020

Interviews

26 Aug 2020

อ่านไทย อาเซียน และอินโด-แปซิฟิก กับ ดุลยภาค ปรีชารัชช

101 สนทนากับ ผศ.ดร.ดุลยภาค ปรีชารัชช เกี่ยวกับ 5 ทศวรรษอาเซียน รวมไปถึงภาพใหญ่อย่างไทย อาเซียน และอินโด-แปซิฟิก ในเกมกระดานของสองมหาอำนาจสหรัฐฯ-จีน

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย

26 Aug 2020

Media

14 Aug 2020

101 One-On-One Ep.168 : “อ่านไทย อาเซียน และอินโด-แปซิฟิก” กับ ดุลยภาค ปรีชารัชช

101 สนทนากับ ผศ.ดร.ดุลยภาค ปรีชารัชช รองคณบดีฝ่ายวิชาการ วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ และอาจารย์ประจำสาขาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เกี่ยวกับ 5 ทศวรรษอาเซียน รวมไปถึงภาพใหญ่อย่างไทย อาเซียน และอินโด-แปซิฟิก ในเกมกระดานของสองมหาอำนาจสหรัฐฯ-จีน

101 One-on-One

14 Aug 2020

Global Affairs

24 Dec 2019

โลก 2019 : ก้าวต่อไปของ (ความไร้) ระเบียบโลกใหม่ บนสมรภูมิการแข่งขันของมหาอำนาจ

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย ย้อนมองโลก 2019 เพื่อสำรวจก้าวต่อไปของ (ความไร้) ระเบียบโลกใหม่ บนสมรภูมิการแข่งขันของมหาอำนาจ

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย

24 Dec 2019

World

23 Sep 2019

อาเซียน ณ จุดศูนย์กลางของยุทธศาสตร์อินโด-แปซิฟิก

ปิติ ศรีแสงนาม เขียนถึงการวางบทบาทของอาเซียนต่อแนวคิด อินโด-แปซิฟิก ซึ่งกลายเป็นยุทธศาสตร์หลักที่ทุกประเทศมหาอำนาจกำลังจับจ้องในฐานะตลาดขนาดใหญ่แห่งเดียวที่ยังมีอัตราการขยายตัวอย่างต่อเนื่อง

ปิติ ศรีแสงนาม

23 Sep 2019

Global Affairs

8 Jul 2019

อาเซียนวางตัวอย่างไร ภายใต้ศึกจีน-สหรัฐฯ

อาร์ม ตั้งนิรันดร เขียนถึงลีลาการทูตของอาเซียน ภายใต้ศึกจีน-สหรัฐ ผ่านการเลือกใช้คำว่า ‘อินโด-แปซิฟิก’ ในการประชุมสุดยอดผู้นำอาเซียนเมื่อปลายเดือนมิถุนายน เพื่อขยายภาพจำภูมิภาค ถ่วงดุลบทบาทเชิงรุกของจีน และส่งสารถึงประเทศมหาอำนาจ ให้เกิดการร่วมมือ

อาร์ม ตั้งนิรันดร

8 Jul 2019

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save