fbpx

Media

31 Mar 2023

101 In Focus Ep.172 : อ่านการเมืองและนโยบายปากท้องผ่านข้าวทุกจานอาหารทุกอย่าง

101 In Focus สัปดาห์นี้หยิบเอาคอลัมน์ Gastro-Politics โดยอรุณวตรี รัตนธารี มาเล่าถึงการเปิดครัวทำความเข้าใจความมั่นคงทางอาหารของไทย และสำรวจนโยบายการกำกับดูแลจากรัฐในพื้นที่ที่ได้ขึ้นชื่อว่า ‘ในน้ำมีปลา ในนามีข้าว’

กองบรรณาธิการ

31 Mar 2023

Life & Culture

6 Feb 2023

ไทยเอาไง?! เมื่อจีนกำลังจะกลายเป็นพี่ใหญ่ของครัวโลก

คอลัมน์ Gastro-Politics เดือนนี้ อรุณวตรี รัตนธารี เขียนถึง ‘อาหารจีน’ ที่ไม่ได้มีความหมายเฉพาะในร้านเหลา แต่ยังเชื่อมโยงกับอาหารไทย และวิกฤตอาหารในประเทศที่จีนเตรียมรับมือผ่านการลงทุนนอกประเทศ

อรุณวตรี รัตนธารี

6 Feb 2023

Lifestyle

17 Feb 2021

สุกๆ ดิบๆ คือสวรรค์ : Niku tataki

กับข้าวกับแขก เดือนนี้ คำ ผกา ชวนลิ้มรส นิคุ ทาทากิ เมนูเนื้อสุกๆ ดิบๆ ตำหรับจากญี่ปุ่น ที่สามารถนำมาปรับสูตรได้หลายเมนู เช่น นิคุ ทาทากิ แบบน้ำตกแซ่บๆ

คำ ผกา

17 Feb 2021

Lifestyle

2 Feb 2021

เค้กกล้วยหอมทะเลาะกับมะตูม

#กับข้าวกับแขก ตอนใหม่ คำ ผกา ชวนมาอบเค้กกล้วยหอมด้วยสูตรง่ายๆ อาศัยความมั่นใจในการทำงานของเตาอบ และโยนมะตูมที่เหลือในตู้เย็นลงไปให้สองรสผลไม้ได้ทะเลาะกัน

คำ ผกา

2 Feb 2021

Life & Culture

1 Feb 2021

“ลอ-กอ-ยอก” ปักษ์ใต้ก็มีส้มตำที่ไม่ได้มาจากกรุงเทพฯ หรืออีสาน

คมกฤช อุ่ยเต็กเค่ง เขียนถึงเรื่องราวความเป็นมาของ ‘ส้มตำ’ และพาไปรู้จัก “ลอกอยอก” ส้มตำปักษ์ใต้ที่มีสูตรเหมือนกับยำมะละกอของพม่า

คมกฤช อุ่ยเต็กเค่ง

1 Feb 2021

Lifestyle

25 Dec 2020

ผัสสะแห่งเทศกาล ควันไฟ​ การเชือดหมูก่อนคริสต์มาสในโรมาเนีย

ณัฎฐา ชื่นวัฒนา พาไปรู้จักกับ Tăiatul Porcului หรือ การเชือดหมู ประเพณีสำคัญช่วงก่อนวันคริสต์มาสของชาวโรมาเนีย สัมผัสกับเมนูของชาวโรมาเนียท่ามกลางอากาศหนาวและกลิ่นควันไฟจากเตาถ่าน

ณัฎฐา ชื่นวัฒนา

25 Dec 2020

Lifestyle

16 Dec 2020

“เคย” ที่คุ้นเคย : เรื่องเล่าของกะปิและน้ำเคย กับเกร็ดเล็กๆ ในประวัติศาสตร์

คมกฤช อุ่ยเต็กเค่ง เล่าเรื่อง ‘เคย’ หรือ ‘กะปิ’ วัตถุดิบปรุงอาหารรสชาติเค็มที่มีกลิ่นอันเป็นเอกลักษณ์ พร้อมเกร็ดเล็กเกร็ดน้อยในประวัติศาสตร์ที่จะทำให้เห็นว่าวัฒนธรรมไทยคุ้น ‘เคย’ อย่างไรบ้าง

คมกฤช อุ่ยเต็กเค่ง

16 Dec 2020

Lifestyle

17 Nov 2020

ขนมปังนั้นอุ่นที่ใจ

อาหารจำพวกแป้งและขนมอบมักเยียวยาเราได้เสมอยามทุกข์ใจ สูตรขนมปังอบของ คำ ผกา ก็เช่นกัน หยุดขบเคี้ยวความเครียด แล้วมาอุ่นที่ใจไปกับกลิ่นหอมๆ ของก้อนขนมปังในคอลัมน์ #กับข้าวกับแขก

คำ ผกา

17 Nov 2020

Lifestyle

3 Nov 2020

โบราณคดีร่วมสมัยของศพไร้ชื่อ และ อาหารจานโปรดในความทรงจำของแม่

ณัฎฐา ชื่นวัฒนา เขียนถึงโบราณคดีร่วมสมัยที่บอกเล่าเรื่องราวของบุคคลล่องหน ผู้ยากไร้ แรงงานนอกระบบ ไปจนถึงผู้สูญหายในอดีต และชวนเข้าครัวทำ ‘เซวิเช’ อาหารจานโปรดของหญิงสาวชาวเม็กซิกันที่ถูกบังคับสูญหาย

ณัฎฐา ชื่นวัฒนา

3 Nov 2020

Lifestyle

21 Oct 2020

แกงไก่ใส่ผักปูลิง (แกงไก่ใส่ใบชะพลู)

#กับข้าวกับแขก เดือนนี้ คำ ผกา ชวนแกงไก่ใส่ผักปูลิงหรือแกงไก่ใบชะพลู เมนูอร่อยที่ใช้ไก่บ้านจะยิ่งอร่อย หอมด้วยกลิ่นอันเป็นเอกลักษณ์ของใบชะพลู

คำ ผกา

21 Oct 2020

Lifestyle

4 Oct 2020

รสเผ็ดร้อนก่อนพริกเทศ: รอยรสชาติ โบราณพฤกษคดี และลาบเนื้อ

คอลัมน์โบราณการครัวตอนใหม่ ณัฎฐา ชื่นวัฒนา ชวนสำรวจการเดินทางของรสเผ็ด เราเริ่มเผ็ดพริกเทศกันตอนไหนในอดีต แล้วก่อนจะมีพริกเทศ รสเผ็ดโบราณเป็นอย่างไร เผ็ดจากวัตถุดิบอะไร

ณัฎฐา ชื่นวัฒนา

4 Oct 2020

Lifestyle

24 Sep 2020

ฮังเลไม่ “ยาก” แต่ “นาน”

#กับข้าวกับแขก ตอนใหม่ คำ ผกา ชวนทำแกงฮังเล อีกเมนูล้านนานที่ทำได้ไม่ยาก หากรู้จัก ‘รอ’ น้ำแกงเข้มข้น หมูสามชั้นฟินๆ กินพร้อมข้าวเหนียวนึ่งร้อนๆ เข้ากับบรรยากาศฟ้าหมาดฝนที่สุด

คำ ผกา

24 Sep 2020

Lifestyle

3 Sep 2020

บาร์บีคิวอเมริกัน: ความหมายที่แปรเปลี่ยนและการเมืองเรื่องสีผิวของเนื้อรมควัน

ณัฎฐา ชื่นวัฒนา เล่าเรื่อง บาร์บีคิว กับประวัติศาสตร์ที่เปลี่ยนแปลงความหมายของอาหารจากนี้ไป จากอาหารของทาสผิวดำ อาหารที่ใช้หาเสียงเลือกตั้ง อาหารต้านคอมมิวนิสต์ ไปจนถึงอาหารที่ทวงคืนประวัติศาสตร์การต่อสู้ของคนผิวดำ

ณัฎฐา ชื่นวัฒนา

3 Sep 2020
1 2 3

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save