fbpx

Life & Culture

10 Jan 2024

ล้านนาเป็นอาณานิคมของสยามช่วงสมบูรณาญาสิทธิราชย์หรือไม่

คอลัมน์ ‘ของบ่เล่ารู้ลืม’ เดือนนี้ พริษฐ์ ชิวารักษ์ ขอเปิดปีด้วยข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ว่าสรุปแล้ว ล้านนาเคยเป็นอาณานิคมของสยามหรือไม่

พริษฐ์ ชิวารักษ์

10 Jan 2024

Life & Culture

13 Sep 2022

‘สี่แผ่นดิน’ กับการสร้างพื้นที่แบบอาณานิคม

ชุติเดช เมธีชุติกุล ชวนมองนวนิยาย ‘สี่แผ่นดิน’ ผ่านมุมมองหลังอาณานิคมนิยม ซึ่งชวนพิจารณาถึงการจัดแบ่งและสร้างพื้นที่ อันสะท้อนวิธีคิดแบบเจ้าอาณานิคมของ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช

ชุติเดช เมธีชุติกุล

13 Sep 2022

World

19 May 2022

ชาวสแกนดิเนเวียอพยพในแอฟริกาใต้

คอลัมน์ ‘เลียบขั้วโลก’ เดือนนี้ ปรีดี หงษ์สต้น เล่าถึงการอพยพข้ามถิ่นฐานของชาวสแกนดิเนเวียไปยังแอฟริกาใต้ ที่แม้ผู้อพยพอาจมีจำนวนไม่มากนักเมื่อเทียบกับจำนวนคนที่ย้ายไปสหรัฐฯ, บราซิลหรือประเทศอื่นๆ แต่ก็เป็นการอพยพที่นำมาซึ่งประวัติศาสตร์หลายๆ ด้าน หนึ่งในนั้นคือสงครามแบะการสร้างค่ายกักกันของจักรวรรดิอังกฤษด้วย

ปรีดี หงษ์สต้น

19 May 2022

Asean

11 Jan 2022

เมืองของเซอร์คลิฟฟอร์ด

ปรางค์ทิพย์ ดาวเรือง เล่าเรื่องเมืองกัวลา ลีปิส รัฐปะหัง ของมาเลเซีย ซึ่งเคยเป็นที่อยู่ของเซอร์คลิฟฟอร์ด อดีตข้าหลวงใหญ่ผู้มีบทบาทโลดแล่นในมลายาภายใต้จักรวรรดิอังกฤษ

ปรางค์ทิพย์ ดาวเรือง

11 Jan 2022

World

24 Dec 2021

กินคาวไม่กินหวานสันดานใคร?: ความหวานแบบขมๆ จากยุคอาณานิคม

อรอนงค์ ทิพย์พิมล ชวนย้อนประวัติศาสตร์อินโดนีเซีย เพราะเหตุใดชาวอินโดฯ จึงชอบกินหวาน และน้ำตาลกลายเป็นของแสดงสถานะทางสังคม

อรอนงค์ ทิพย์พิมล

24 Dec 2021

Life & Culture

9 Sep 2021

เยือนอเมริกาในเวลาประกาศอิสรภาพจากโควิด (1) – วิลเลียมสเบิร์ก เมืองหลวงแห่งแรกของเวอร์จิเนีย

ธีรภัทร เจริญสุข พาไปสัมผัสบรรยกาศเมืองวิลเลียมสเบิร์ก ในรัฐเวอร์จิเนีย เมืองเก่าแก่ที่เคยเป็นดั่งศูนย์กลางการปกครองในยุคอาณานิคมดั้งเดิม ก่อนที่อเมริกาจะประกาศอิสรภาพ

ธีรภัทร เจริญสุข

9 Sep 2021

Media

28 May 2021

In relationships with IR Ep.2 : ช็อกโกแลต ชา กาแฟ และน้ำตาล

In relationships with IR ตอนใหม่ ชวนเปิดมุมมืดของช็อกโกแล็ต ชา กาแฟ และน้ำตาล ที่สืบสาวกลับไปยังยุคอาณานิคมและยังส่งต่อมาสู่โลกปัจจุบันในรูปแบบของความเหลื่อมล้ำระหว่างโลกที่พัฒนาแล้วและโลกที่เขาว่ากันว่ากำลังพัฒนา

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

28 May 2021

World

25 May 2021

เดนมาร์กและกรณียกเว้นของความทรงจำอาณานิคม

คอลัมน์ #เลียบขั้วโลก ตอนใหม่ ปรีดี หงษ์สต้น เขียนถึงความพยายามในการจัดการความทรงจำอันเลวร้ายของเดนมาร์กเกี่ยวกับประวัติศาสตร์การครอบครองอาณานิคม ผ่านการนำเสนอว่าเดนมาร์กนั้นเป็น ‘กรณียกเว้น’ เมื่อเทียบกับประเทศเจ้าอาณานิคมยุโรปอื่นๆ

ปรีดี หงษ์สต้น

25 May 2021

Life & Culture

20 Apr 2021

ชาใส่นมหรือไม่ใส่นม? มรดกเจ้าอาณานิคมกับวัฒนธรรมชาในมาเลเซีย-อินโดนีเซีย

มัธธาณะ รอดยิ้ม เขียนถึงความแตกต่างในวัฒนธรรมการดื่มชาของมาเลเซียและอินโดนีเซียที่มีผลมาจากเขตอำนาจของเจ้าอาณานิคมในอดีต

มัธธาณะ รอดยิ้ม

20 Apr 2021

Sustainability

2 Oct 2020

พนาลีนี่นี้ใครครอง: รัฐรวมศูนย์ไทย ‘แก้ไข’ หรือ ‘กระพือ’ ไฟป่า

ชลิดา หนูหล้า พาย้อนเวลาไปในยุคอาณานิคม ดูต้นตอของปัญหาไฟป่าที่ไม่เคยหมดสิ้นไป และสิทธิไม่เคยตกไปถึงชุมชนอย่างแท้จริง

ชลิดา หนูหล้า

2 Oct 2020

Life & Culture

9 Jul 2020

ลบ-สร้าง-เล่า : ชาติที่ถูกสร้าง ผ่านพิพิธภัณฑ์บนเกาะไต้หวัน

นิติธร สุรบัณฑิตย์ เขียนถึงการสร้างชาติของไต้หวันผ่านพิพิธภัณฑ์ ที่แตกต่างจากจีนแผ่นดินใหญ่และญี่ปุ่นซึ่งเคยครองอำนาจในเกาะแห่งนี้

นิติธร สุรบัณฑิตย์

9 Jul 2020

Thai Politics

6 May 2020

กว่าจะเป็นประชาธิปไตย: ไทยเราอยู่ไหนในแผนที่ประชาธิปไตยโลก

วรรษกร สาระกุล ชวนสำรวจตำแหน่งแห่งที่ของประชาธิปไตยไทยในกระแสโลกนับแต่อดีต ผ่านภาพเปรียบเทียบที่จะทำให้เห็นมุมกว้างของระบอบการปกครองโลก

วรรษกร สาระกุล

6 May 2020

Thai Politics

18 Oct 2019

กระบวนการประกอบสร้าง ‘ความมั่นคง’ (securitization): แนวคิดและตัวอย่าง

จันจิรา สมบัติพูนศิริ เขียนถึงกระบวนการสร้าง ‘ความมั่นคง’ ของรัฐ ผ่านการศึกษาความมั่นคงระหว่างประเทศ 3 สำนัก ที่ต้องดูคำนิยามว่าเป็นความมั่นคงของใคร และอะไรคือภัยคุกคามที่ต้องรับมือ

จันจิรา สมบัติพูนศิริ

18 Oct 2019

โลก-อุษาคเนย์

31 Oct 2018

อีสานไซบอร์ก ทำบางกอกให้เป็นบ้านนอก

ยุกติ มุกดาวิจิตร วิเคราะห์ผลงานศิลปินอีสานที่จัดวางตัวเองในฐานะผู้อยู่ใต้อาณานิคมที่ลุกขึ้นมาปะทะกับเจ้าอาณานิคมสยาม ซึ่งคลี่คลายด้วยการทำให้ ‘บางกอกกลายเป็นบ้านนอก’ เสียเอง

ยุกติ มุกดาวิจิตร

31 Oct 2018

Global Affairs

28 Sep 2017

ปลากระป๋องกับอาณานิคม

ปลากระป๋องที่เรากินอยู่ทุกวันนี้ นอกจากปลาที่รสชาติอร่อยแล้ว มันยังแฝงไปด้วยเกร็ดเล็กเกร็ดน้อยทางประวัติศาสตร์ที่น่าสนใจไม่น้อย

วชิรวิทย์ คงคาลัย

28 Sep 2017

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save