fbpx

Political Economy

1 Nov 2017

นพ.ประวิทย์ ลี่สถาพรวงศา : หกปีแห่งความผิดหวังของ กสทช. และอนาคตที่ต้องจับตา

ปกป้อง จันวิทย์ ชวน นพ.ประวิทย์ ลี่สถาพรวงศา หนึ่งใน กสทช. ชุดแรก มาถามตรง-ตอบตรง เรื่อง 6 ปี กสทช. ตั้งแต่ประเด็นธรรมาภิบาล การจัดสรรคลื่นความถี่ การคุ้มครองผู้บริโภค จนถึงกฎหมาย กสทช. ฉบับใหม่ในระบอบ คสช.

ปกป้อง จันวิทย์

1 Nov 2017

Talk Programmes

23 Oct 2017

รวมคลิปและคำต่อคำ งาน Shift Happens : พลิกธุรกิจให้ทันวันพรุ่งนี้

เติมความรู้ให้ทันอนาคตกับ 4 บทเรียนที่จะเปลี่ยนแปลงสังคมไทยให้ดีขึ้นอย่างยั่งยืนจากเวที ‘Shift Happens: พลิกธุรกิจให้ทันวันพรุ่งนี้’

กองบรรณาธิการ

23 Oct 2017

Anti-Corruption

9 Oct 2017

A Scandinavian’s Guide to Fight Corruption

อะไรทำให้ประเทศกลุ่มสแกนดิเนเวียถึงอยู่อันดับต้นๆ ในลิสต์ประเทศแห่งความโปร่งใสแทบทุกสำนัก คำตอบไม่ใช่แค่ภาครัฐหรือประชาชนที่ช่วยกัน แต่เป็น ‘ภาคเอกชน’ ที่จริงจังกับการไม่เอาคอร์รัปชัน!

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

9 Oct 2017

Sustainability

5 Oct 2017

“ดีพอ ไม่พอถ้าแค่ดี”: พลิกสังคม ด้วยพลัง ‘ผู้บริโภค’

การส่งสัญญาณให้ภาคธุรกิจ ดำเนินกิจการอย่างมีจริยธรรมด้วยมาตรฐานที่สูงขึ้นอาจเป็นเรื่องที่ผู้บริโภคหลายคนคิดว่าไกลตัวและไม่น่าจะมีประโยชน์อะไรกับตัวเอง แต่รู้ไหมว่าผู้บริโภคคนตัวเล็กๆ ‘เปลี่ยน’ ภาคธุรกิจให้ดีขึ้นได้ และเราทุกคนก็จะได้รับประโยชน์ไปพร้อมๆ กันด้วย

กองบรรณาธิการ

5 Oct 2017

Anti-Corruption

7 Sep 2017

ทำไมประเทศไทยติดกับดักคอร์รัปชัน

ประจักษ์ ก้องกีรติ ตั้งคำถาม “ทำไมประเทศไทยติดกับดักคอร์รัปชัน” และตอบคำถาม “ทางออกจากกับดักคอร์รัปชันอยู่ตรงไหน”

ประจักษ์ ก้องกีรติ

7 Sep 2017

Social Issues

4 Sep 2017

วัดกันด้วยวิทยาศาสตร์ ระหว่างปกครองด้วยทหารกับนักการเมือง อย่างไหนคอร์รัปชันมากกว่ากัน?

ระหว่างบ้านเมืองที่ทหารคุมกับนักการเมืองคุม คุณคิดว่าแบบไหน จะทำให้เกิดคอร์รัปชันมากกว่ากัน ในบทความนี้ จะพาคุณไปดูข้อมูล (บางส่วน) ซึ่งอาจทำให้คุณทราบมากขึ้นว่าใครนั้นเป็นผู้ร้ายตัวจริง

วชิรวิทย์ คงคาลัย

4 Sep 2017

Thai Politics

30 Aug 2017

5 สิ่งที่หายไปจากประเทศไทย

ประเทศไทยนี้น่าจะเปรียบเสมือนหลุมดำก็ว่าได้ เพราะหากมีอะไรหายไป ก็ดูจะหาได้ยากเย็นเสียเหลือเกิน คล้ายกับว่าสิ่งเหล่านั้นจะหลุดเข้าไปในหลุมดำ และหากใครพยายามขวนขวายหาสิ่งเหล่านั้น ก็อาจจะหายเข้าไปในหลุมดำด้วยน่ะสิ

วชิรวิทย์ คงคาลัย

30 Aug 2017

Talk Programmes

30 Aug 2017

คลิป : พลิกพฤติกรรม กับธานี ชัยวัฒน์

ถ้าคุณอยากรู้ว่าคนเราโกงเพราะอะไร? เชื่อไหม! เราพิสูจน์สาเหตุของความขี้โกงได้
มาฟัง ถอดรหัสพฤติโกง กับ ธานี ชัยวัฒน์ ในงาน Shift Happens: พลิกธุรกิจให้ทันวันพรุ่งนี้ วันเสาร์ที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2560 เวลา 11.30-16.30 น. ณ โรงละครเคแบงก์สยามพิฆเนศ ชั้น 7 สยามสแควร์วัน

กองบรรณาธิการ

30 Aug 2017

Talk Programmes

30 Aug 2017

คลิป : พลิกสังคม กับประจักษ์ ก้องกีรติ

ประเทศไทยถูกสาปให้โกงจริงหรือ? ธุรกิจไม่ต้องจ่ายใต้โต๊ะ สังคมปลอดคอร์รัปชัน มีได้จริงหรือไม่? ถ้าคุณหมดหวังกับการแก้คอร์รัปชันในประเทศนี้
มาฟัง! “แก้เกมโกง” กับ ผศ.ดร.ประจักษ์ ก้องกีรติ ในงาน Shift Happens: พลิกธุรกิจให้ทันวันพรุ่งนี้ วันเสาร์ที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2560 เวลา 11.30-16.30 น. ณ โรงละครเคแบงก์สยามพิฆเนศ ชั้น 7 สยามสแควร์วัน

กองบรรณาธิการ

30 Aug 2017

Anti-Corruption

19 May 2017

ไม่ว่าจะสูง… แค่ไหนก็สร้างถึง : ทำไมประเทศเผด็จการถึงชอบสร้างอะไรสูงๆ

สิ่งหนึ่งที่มีร่วมกันของประเทศที่ปกครองแบบเผด็จการ คือนิสัยชอบสร้างอะไรสูงๆ ไว้ก่อน จริงอยู่ที่ว่าประเทศประชาธิปไตยก็ชอบตึกสูง แต่ความแตกต่างของทั้งคู่คืออะไร แล้วทำไมถึงอยากสร้างอะไรสูงๆ กันนัก?

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

19 May 2017

Anti-Corruption

19 May 2017

คอร์รัปชันแบบไทยๆ ไม่เหมือนที่ไหนในโลก?

ทุกครั้งที่มีข่าวคราวการเกิดคอร์รัปชันในไทย เรามักจะได้ยินเสมอว่า ก็เพราะนักการเมืองขี้โกงนั่นแหละที่เป็นสาเหตุ (ขนาดในยุคที่ไม่มีนักการเมืองตามความหมายแบบแคบ หลายคนก็ยังอ้างว่านักการเมืองเป็นสาเหตุกันอยู่)
แต่เดี๋ยวก่อน! การคอร์รัปชันจะเกิดขึ้นเพียงเพราะมีนักการเมืองขี้โกงอย่างเดียวหรือ ไปดูกันดีกว่า ว่าสาเหตุหรือรากเหง้าที่แท้จริงของการคอร์รัปชันในไทยเกิดขึ้นมาจากอะไรได้บ้าง

วชิรวิทย์ คงคาลัย

19 May 2017

Education

15 May 2017

ฉลาดเกมส์โกง: แกะประเด็นปัญหาการศึกษา

ไม่ว่าดูเอามันส์ ดูเอาดราม่า หรือดูเอาว่ามันสมจริงหรือเปล่า แต่ถ้าจะดูทั้งทีแล้ว ก็ดูเอาสาระจริงๆ จังเสียหน่อยเถอะ เพราะหนังฉลาดเกมส์โกง มันคือหนังการศึกษาชัดๆ ที่พูดถึงปัญหาการศึกษาที่อยู่รายล้อมรอบตัวเราทั้งสิ้น ลองไปดูกันว่ามันเกี่ยวยังไง

วชิรวิทย์ คงคาลัย

15 May 2017

Anti-Corruption

12 May 2017

เจาะธุรกิจ ‘รับทำวิทยานิพนธ์’ : ช่องโหว่การศึกษา ปริญญาแกมโกง ?

หลายคนคงคุ้นหูคุ้นตากับธุรกิจ ‘รับทำวิทยานิพนธ์’ กันอยู่บ้าง แต่คุณรู้ไหมว่ามันมีที่มาที่ไปอย่างไร แล้วทำไมธุรกิจที่ว่านี้จึงยังมีคนใช้บริการกันอยู่ ทั้งที่มันดู ‘ไม่ชอบมาพากล’ เอาเสียเลย

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล

12 May 2017

Global Affairs

25 Apr 2017

ต้าน “ผู้นำอย่างทรัมป์” ด้วยนวัตกรรมประชาธิปไตย

จันจิรา สมบัติพูนศิริ สำรวจ “จุดอ่อน” ขบวนการต้านทรัมป์และผองเพื่อนผู้นำการเมืองขวาประชานิยม

ทำไมพวกลิเบอรัลอาจเคลื่อนไหวต่อต้านคนอย่างทรัมป์ไม่สำเร็จ แถมกลับยิ่งทำให้พวกเขาเข้มแข็งขึ้นไปอีก … แล้วเราจะสู้กับผู้นำขวาประชานิยมอย่างทรัมป์อย่างไรดี?

จันจิรา สมบัติพูนศิริ

25 Apr 2017

Trends

21 Apr 2017

“ซินแสโชกุน” ต้มตุ๋นสไตล์สากล

“ซินแสโชกุน” พุ่งติดชาร์ตขึ้นทำเนียบคนลวงโลกคนล่าสุดของสังคมไทย

วิถีลวงโลกของซินแสโชกุน แท้จริงแล้วมิได้มีอะไรใหม่ รูปแบบต้มตุ๋นก็เป็นไปตามที่สากลเขาเคยทำกัน จนมีชื่อเรียกว่า Ponzi Scheme และถือว่าเลวเท่าเทียมกันเพราะทำให้คนอื่นเจ็บปวดจากความสูญเสีย

“ซินแสโชกุน” มิใช่คนแรกก็จริง แต่ก็มิใช่คนสุดท้ายอย่างแน่นอน ตราบที่โลกยังเต็มไปด้วยคนโลภแบบไม่แคร์เหตุแคร์ผล

วรากรณ์ สามโกเศศ จะพาคุณย้อนประวัติศาสตร์ เล่าที่มาที่ไปของวิถีต้มตุ๋นที่ตั้งชื่อตามสุดยอดคนลวงโลก Charles Ponzi ชาวอิตาลี ผู้ข้ามน้ำข้ามทะเลมาหากินในอเมริกาด้วยเงินในกระเป๋าไม่ถึง 3 เหรียญ!

วรากรณ์ สามโกเศศ

21 Apr 2017
1 2

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save