fbpx

Global Affairs

12 Jan 2024

สงครามยูเครนบอกอะไรสีจิ้นผิงกับไบเดน

อาร์ม ตั้งนิรันดร เขียนถึงนัยจากความเป็นไปของสงครามยูเครนในปัจจุบัน ที่มีต่อทิศทางการเดินหมากของสหรัฐฯ และจีน ในกรณีไต้หวัน

อาร์ม ตั้งนิรันดร

12 Jan 2024

World

28 Jun 2023

Greenland amidst Arctic Powerplay: ‘กรีนแลนด์’ ท่ามกลางสามเหลี่ยมยุทธศาสตร์อาร์กติก

ศิวัชฐ์ วรรณโกมล เขียนถึง ‘กรีนแลนด์’ ในยุคสมัยที่ภูมิรัฐศาสตร์และความตึงเครียดจากการแข่งขันระหว่างมหาอำนาจคืบคลานเข้าไปในอาร์กติก และหนทางที่กรีนแลนด์จะดำเนินนโยบายเพื่อสร้างสมดุลระหว่างมหาอำนาจสองค่ายให้ตอบโจทย์ที่สุด

ศิวัชฐ์ วรรณโกมล

28 Jun 2023

World

11 Apr 2023

ไต้หวันกับสองการเดินทาง

อาร์ม ตั้งนิรันดร เขียนถึง ทางแยกระหว่างไต้หวันที่สืบมาจากสาธารณรัฐจีนในอดีตกับไต้หวันที่ไม่ยึดโยงตัวเองกับจีนแผ่นดินใหญ่ ท่ามกลางบริบทที่เหมือนจะบีบให้ไต้หวันต้องเลือกในไม่ช้านี้

อาร์ม ตั้งนิรันดร

11 Apr 2023

World

29 Mar 2023

อาร์กติก 2030: พื้นที่แห่งความร่วมมือ ความขัดแย้ง และโอกาสแห่งอนาคต

ศิวัชฐ์ วรรณโกมล เขียนถึง 3 พื้นที่แห่งความร่วมมือ ความขัดแย้ง และโอกาส ที่ขับเคลื่อนการเมืองในภูมิภาคอาร์กติก หลังผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศแปรสภาพให้ภูมิภาคอาร์กติกกลายเป็นสมรภูมิทางภูมิรัฐศาสตร์ และมีหลายประเทศหมายตา ‘อาร์กติก’ เพิ่มขึ้น

ศิวัชฐ์ วรรณโกมล

29 Mar 2023

World

22 Mar 2023

A ‘New’ Cold War in the Arctic? ขยับขยายสมรภูมิภูมิรัฐศาสตร์สู่ขั้วโลกเหนือ

ศิวัชฐ์ วรรณโกมล เขียนถึง การแข่งขันและความร่วมมือในภูมิภาคอาร์กติกที่ทวีความรุนแรงมากขึ้นในหมู่ ‘รัฐอาร์กติก’ และ ‘รัฐที่อยู่ใกล้อาร์ติก’ โดยเฉพาะระหว่างสหรัฐฯ รัสเซีย และจีน จนตกอยู่ในสภาวะสามขั้วอำนาจของสงครามเย็น

ศิวัชฐ์ วรรณโกมล

22 Mar 2023

World

22 Nov 2022

ASEAN Summit – G20 – APEC โลกได้อะไร? ไทยได้อะไร? กับ ปิติ ศรีแสงนาม

101 ชวน ปิติ ศรีแสงนาม สรุปและมองทิศทางภูมิรัฐศาสตร์โลกผ่านสามการประชุมใหญ่ จะนำพาโลกมีแนวโน้มไปในทิศทางไหน และไทยอยู่ตรงไหนในภูมิรัฐศาสตร์โลก

ศุภวิชญ์ ศิริสวัสดิ์วัฒนา

22 Nov 2022

World

8 Nov 2022

Is America Back? สหรัฐฯ โลก และเอเชียแปซิฟิกหลัง America must lead again – ประพีร์ อภิชาติสกล

101 สนทนากับ ประพีร์ อภิชาติสกล วิเคราะห์บทบาทการนำโลกและการกลับมาปักหมุดในเอเชียของสหรัฐฯ หลังออกจากโหมดโดดเดี่ยว ไปจนถึงความสัมพันธ์ไทย-สหรัฐฯ ในยุคที่ซับซ้อนผันผวนมากที่สุดยุคหนึ่ง

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

8 Nov 2022

Global Affairs

21 Aug 2022

สามก๊กการเมืองโลก: ประเทศไทยและอาเซียนอยู่ที่ตรงไหน

ปิติ ศรีแสงนาม และ แทนคุณ จิตต์อิสระ เปรียบเทียบการเมืองโลกในปัจจุบันกับสามก๊ก พร้อมมองหาตำแหน่งแห่งที่ของไทยและอาเซียนในสามก๊กการเมืองโลก

ปิติ ศรีแสงนาม

21 Aug 2022

101 in focus

8 Jul 2022

101 In Focus Ep.136: ‘สิทธิทำแท้ง’ ในสหรัฐฯ บนอนาคตที่มืดหม่น

101 In Focus ชวยคุยเรื่องอนาคตสิทธิทำแท้งในสหรัฐฯ หลังศาลสูงสุดกลับคำพิพากษาซึ่งรับรองสิทธิทำแท้งของผู้หญิงทั่วประเทศ

กองบรรณาธิการ

8 Jul 2022

World

10 Jun 2022

สหรัฐฯ กับจีนในสนาม AI: ใครจะเป็นมหาอำนาจโลก?

จิตทิพย์ มงคลชัยอรัญญา ตั้งคำถามต่อการก้าวสู่การเป็นมหาอำนาจ AI ของจีน ผ่านทฤษฎีการแพร่ขยายเทคโนโลยี

จิตทิพย์ มงคลชัยอรัญญา

10 Jun 2022

World

7 Jun 2022

เก็บตก 4 ประเด็นใหญ่: สหรัฐฯ มองเห็นอะไรจากการประชุมซัมมิตอาเซียน-สหรัฐฯ

101 เก็บตกบทสนทนาโต๊ะกลมระหว่างไมเคิล ฮีธ รักษาการเอกอัครราชทูตสหรัฐฯ ประจำประเทศไทย กับคณะสื่อว่าด้วยเรื่องการปักหมุดความสัมพันธ์ระหว่างสหรัฐฯ-อาเซียนใหม่ในศตวรรษที่ 21

กองบรรณาธิการ

7 Jun 2022

Asean

26 Apr 2022

จากมหายุทธศาสตร์อินโด-แปซิฟิก สู่กรอบความร่วมมือเศรษฐกิจอินโด-แปซิฟิก และสิ่งที่อาเซียนต้องเข้าใจ

ปิติ ศรีแสงนาม วิเคราะห์การเจรจากรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจอินโด-แปซิฟิก ระหว่างสหรัฐฯ-อาเซียน ซึ่งคาดว่าจะเกิดขึ้นระหว่างการประชุมสุดยอดผู้นำอาเซียน-สหรัฐฯ ในเดือนพฤษภาคมนี้

ปิติ ศรีแสงนาม

26 Apr 2022

World

6 Apr 2022

ปูตินไม่ชนะ แต่อาจไม่แพ้

อาร์ม ตั้งนิรันดร์ วิเคราะห์ถึง สงครามยืดเยื้อระหว่างรัสเซีย-ยูเครนว่าคือ ‘ความเพลี่ยงพล้ำแต่ไม่พ่ายแพ้’ ของรัสเซีย เพราะมองว่าตนเองสามารถบรรลุเป้าหมายปฏิบัติการทางการทหารได้ในระดับหนึ่ง และยังมีเดิมพันต่อโลกตะวันตกว่าจะทนผลย้อนกลับจากมาตรการคว่ำบาตรทางเศรษฐกิจได้หรือไม่

อาร์ม ตั้งนิรันดร

6 Apr 2022

World

8 Mar 2022

ปูติน ‘รีเซ็ต’ ระเบียบโลก แต่ดันเข้าทางสหรัฐฯ

อาร์ม ตั้งนิรันดร เขียนถึง ความเปลี่ยนแปลงในระเบียบโลกที่ถูกสั่นคลอนโดยสงครามรัสเซีย-ยูเครน ซึ่งย้อนศรความตั้งใจของรัสเซียที่จะ ‘รีเซ็ต’ ระเบียบโลกให้เข้าทางรัสเซีย-จีน นำไปสู่ความได้เปรียบของสหรัฐฯ และโลกสองขั้วที่แยกห่างออกจากกันยิ่งขึ้น

อาร์ม ตั้งนิรันดร

8 Mar 2022

Social Issues

25 Nov 2021

ถอด 3 บทเรียนนานาชาติ สู่เส้นทางการสร้างความเสมอภาคทางการศึกษา

101 ชวนอ่านทัศนะบางส่วนจาก 3 ผู้เชี่ยวชาญด้านการศึกษาใน 3 ทวีป ถอดบทเรียนจากนานาชาติเพื่อสร้างเส้นทางไปสู่ระบบการศึกษาที่เสมอภาคขึ้น เท่าเทียมขึ้นของประเทศไทย และไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลังอย่างแท้จริง

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย

25 Nov 2021
1 2

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save