fbpx

World

7 Aug 2023

สันติภาพของยูเครนบนทางเลือกแห่งอาวุธนิวเคลียร์: ‘คงครอบครองไว้’ หรือ ‘สละละทิ้งไป’

กฤตวรรณ ประทุม ชวนสำรวจข้อถกเถียงว่าด้วย ‘การครอบครองไว้’ หรือ ‘การสละละทิ้งไป’ ซึ่งอาวุธนิวเคลียร์ของยูเครน ที่เคยมีไว้ในครอบครองหลังการล่มสลายของสหภาพโซเวียต ทางเลือกเหล่านี้ส่งผลอะไรต่อการเมืองระหว่างประเทศในยุคหลังสงครามเย็น โดยเฉพาะในสงครามรัสเซีย-ยูเครนที่กำลังดำเนินอยู่ในปัจจุบันนี้

กองบรรณาธิการ

7 Aug 2023

World

27 Apr 2023

“เราไม่สามารถชนะสงครามด้วยกวีนิพนธ์ แต่กวีเป็นประจักษ์พยานต่อสงครามได้” ‘เซอร์ฮี ซาดาน’ กวียูเครนผู้ต่อต้านจักรวรรดินิยมรัสเซีย

ไกรวรรณ สีดาฟอง เขียนถึง เรื่องราวของ ‘เซอร์ฮี ซาดาน’ นักเขียนยูเครนผู้สะท้อนภาพความพลิกผันอย่างรุนแรงและความสามัญธรรมดาที่ดำเนินไปของชีวิตผู้คนเมื่อสงครามและการทำลายล้างเข้ามาสู่โลก ผ่านผลงานนวนิยาย ความเรียง บทกวีและบทเพลง และเชื่อว่า นักเขียนมีบทบาทสำคัญในการต่อสู้กับท่าทีอาณานิคมของรัสเซีย โดยการสร้างอัตลักษณ์ของประเทศผ่านศิลปะ

ไกรวรรณ สีดาฟอง

27 Apr 2023

Books

13 Mar 2023

‘เขาทำอะไรกันหลังวันปฏิวัติ?’ เครื่องสับหญ้าและวิญญาณ์งู เรื่องราวชีวิตและการต่อสู้ของสองมะกันชนในแผ่นดินจีนร่วมสมัย

ดีโยน ณ มานดารูน แนะนำหนังสือ Silage Choppers & Snake Spirits ว่าด้วยชีวิตอเมริกันที่เชื่อในแนวคิดคอมมิวนิสต์และไปใช้ชีวิตในจีนช่วงสงครามเย็น

ดีโยน ณ มานดารูน

13 Mar 2023

World

15 Jan 2023

‘6 วันหลังรัสเซียก่อสงคราม เราก็หนีออกมา’ ดีนา คาราแมน และ วลาดิเมียร์ นาดีน ว่าด้วยเสรีภาพ ความขัดแย้งและโฆษณาชวนเชื่อ

6 วันหลังรัสเซียเปิดฉากรุกรานยูเครนด้วยการระดมกำลังพลในกองทัพเข้าประชิดเขตชายแดน ดีนา คาราแมน และ วลาดิเมียร์ นาดีน คนทำหนังชาวรัสเซียก็ตัดสินใจเดินทางออกจากประเทศ ส่วนเสี้ยวหนึ่งของหัวใจเตรียมรับมือกับข้อเท็จจริงที่ว่าพวกเขาอาจไม่ได้กลับบ้านเกิดไปในเร็ววันนี้

101 สนทนากับคาราแมนและนาดีน ว่าด้วยสถานะคนทำหนังที่คัดง้างกับรัฐบาล, โฆษณาชวนเชื่อที่ยังทรงอิทธิพลมหาศาล และปลายทางของรัสเซียในสายตาพวกเขา

พิมพ์ชนก พุกสุข

15 Jan 2023

World

25 Mar 2022

‘เราจะต่อสู้ในทุกพื้นที่และเราจะไม่ยอมแพ้’ เมื่อผู้นำยูเครนใช้พลังวาทศิลปสู้นาซีของวินสตัน เชอร์ชิล เพื่อปลุกใจนักสู้ผู้ปกป้องมาตุภูมิ 

สมชัย สุวรรณบรรณ เขียนถึงสุนทรพจน์ของโวโลดีเมียร์ เซเลนสกี้ ประธานาธิบดียูเครนที่หยิบยกเอาบทประพันธ์ของเชกสเปียร์และคำปลุกใจของวินสตัน เชอร์ชิล อดีตนายกรัฐมนตรีอังกฤษ มากล่าวกับประเทศอื่นๆ เพื่อขอรับแรงสนับสนุนในสถานการณ์ความขัดแย้งกับรัสเซีย

สมชัย สุวรรณบรรณ

25 Mar 2022

World

4 Oct 2021

กำแพงเบอร์ลิน วันชาติเยอรมนีและวัฒนธรรมป็อป สู่ ‘ความเป็นชาติ’ ที่แปรเปลี่ยน

3 ตุลาคม เป็นวันชาติเยอรมนี มัธธาณะ รอดยิ้ม ชวนย้อนมองเส้นทางการรวมชาติเยอรมนี นับแต่การก่อตั้งสมาพันธรัฐเยอรมันที่รวบรวมรัฐที่ใช้ภาษาเยอรมัน ซึ่งนำไปสู่คำถามว่า ‘ความเป็นเยอรมัน’ คืออะไร

มัธธาณะ รอดยิ้ม

4 Oct 2021

Global Affairs

19 Aug 2021

การคะเนพลาดในประวัติศาสตร์สงคราม

ในวาระครบรอบ 76 ปีสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2 ธีวินท์ สุพุทธิกุล เขียนถึง ‘การคะเนพลาด’ ในยุทธศาสตร์สงครามของทั้งชาติฝ่ายสัมพันธมิตรและฝ่านอักษะจนกลายเป็นหุบเหวไปสู่มหาสงคราม

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

19 Aug 2021

World

6 Sep 2020

อ่านเอสโตเนียและบอลติก กับ วศิน ปั้นทอง

101 ชวน วศิน ปั้นทอง สนทนาไล่เรียงตั้งแต่เอกลักษณ์และความเฉพาะของภูมิบอลติก การเปลี่ยนผ่านไปสู่ประชาธิปไตยของรัฐ post-soviet รวมทั้งโฉมหน้า โอกาส และความท้าทายของรัฐดิจิทัลอย่างเอสโตเนีย จนไปถึงความสัมพันธ์อันขมขื่นระหว่างรัสเซียและรัฐบอลติก

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

6 Sep 2020

World

28 Feb 2020

รื้อ/สร้างอนุสาวรีย์รัสเซียในบอลติก : การช่วงชิงการเมืองแห่งความทรงจำ

จิตติภัทร พูนขำ เขียนเรื่องการช่วงชิงการเมืองแห่งความทรงจำ ผ่านทางการรื้อและสร้างอนุสาวรีย์รัสเซียในประเทศลัตเวีย ลิทัวเนีย และเอสโตเนีย

จิตติภัทร พูนขำ

28 Feb 2020

Lifestyle

27 Nov 2019

บังเกอร์-42 หลุมหลบภัยจำลองสงครามนิวเคลียร์แห่งมอสโก

ธีรภัทร เจริญสุข เขียนถึง Bunker-42 หลุ่มหลบภัยของโซเวียตที่สร้างขึ้นในช่วงปี 1950 ปัจจุบันบังเกอร์นี้กลายเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่พาเราไปศึกษาประวัติศาสตร์สงครามอย่างใกล้ชิด

ธีรภัทร เจริญสุข

27 Nov 2019

World

1 Feb 2019

ภูมิรัฐศาสตร์ว่าด้วยหมู่เกาะคูริล : ความสัมพันธ์รัสเซีย-ญี่ปุ่น ข้ามไม่พ้น ‘มรดกตกทอด’ ของสงครามโลกครั้งที่ 2 

จิตติภัทร พูนขำ เขียนถึงข้อพิพาทหมู่เกาะคูริล ระหว่างรัสเซียกับญี่ปุ่น ซึ่งเป็นมรดกตกทอดมาตั้งแต่ช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง และปัจจุบันก็ยังไม่มีทีท่าว่าจะตกลงกันได้ เนื่องด้วย ‘ผลประโยชน์แห่งชาติ’ ที่ต่างกันของทั้งสองฝ่าย

จิตติภัทร พูนขำ

1 Feb 2019

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save