fbpx

Delegation of the European Union to Thailand x 101

13 Oct 2023

สู่อนาคตแห่งความร่วมมือ: ความสัมพันธ์สหภาพยุโรป-ไทย ภายใต้รัฐบาลใหม่

101 ชวนทบทวนความสัมพันธ์และความร่วมมือระหว่างสหภาพยุโรปและไทย สำรวจพลวัตและความท้าทายที่รออยู่ในรัฐบาลใหม่ พร้อมมองโอกาสและความท้าทายร่วมระหว่างสหภาพยุโรปและไทยในอนาคต ท่ามกลางการแข่งขันทางภูมิรัฐศาสตร์ระหว่างมหาอำนาจในภูมิภาคอินโด-แปซิฟิก

เพ็ญพิชชา มุ่งงาม

13 Oct 2023

Delegation of the European Union to Thailand x 101

1 Jun 2023

1 ปี สงครามรัสเซีย-ยูเครน: หนทางสู่สันติภาพที่ไม่ลงรอย

Delegation of the European Union to Thailand x 101 ชวนทบทวน 1 ปีที่ผ่านมาของสงครามรัสเซีย-ยูเครนและหนทางสู่สันติภาพ ผ่านมุมมองยุโรป มุมมองของกลุ่มประเทศซีกโลกใต้ และมุมมองจากพื้นที่จริง

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

1 Jun 2023

World

24 Apr 2023

‘สงครามรัสเซีย-ยูเครน’ ในมุมทูตยุโรป: 1 ปีที่สันติภาพยังคงเลือนราง

ตลอดกว่า 1 ปีที่ผ่านมา ยุโรปมองสงครามรัสเซีย-ยูเครนอย่างไร? สงครามได้เปลี่ยนยุโรปไปอย่างไรบ้าง? สงครามจะเป็นอย่างไรต่อไป? และอะไรที่จะเปิดโอกาสให้สันติภาพเกิดขึ้นได้อย่างแท้จริง? 101 ชวนอ่าน ‘สงครามรัสเซีย-ยูเครน’ ผ่านมุมมองของทูตสหภาพยุโรป โปแลนด์ เยอรมนี และฟินแลนด์

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

24 Apr 2023

World

29 Mar 2023

อนาคตร่วม: วิสัยทัศน์สหภาพยุโรป อาเซียน และไทยต่อ ‘อินโด-แปซิฟิก’

101 ชวนทบทวนถึงวิสัยทัศน์และประโยชน์เชิงยุทธศาสตร์ของสหภาพยุโรปสำหรับความร่วมมือในภูมิภาคอินโด-แปซิฟิก ตลอดจนถึงผลลัพธ์ต่อไทยและอาเซียน ในยุคสมัยที่อินโด-แปซิฟิกคืออนาคตร่วมของนานาประเทศทั่วโลก

เพ็ญพิชชา มุ่งงาม

29 Mar 2023

World

9 Feb 2023

อาเซียน-สหภาพยุโรป: อนาคตและความท้าทายบนความสัมพันธ์ในอินโด-แปซิฟิก

ทบทวนความสัมพันธ์และความร่วมมือระหว่าง ‘สหภาพยุโรป-อาเซียน’ ตลอด 45 ปีที่ผ่านมา พร้อมมองโอกาสและความท้าทายร่วมระหว่างสองภูมิภาคในอนาคต ท่ามกลางการแข่งขันทางภูมิรัฐศาสตร์ระหว่างมหาอำนาจในภูมิภาค ‘อินโด-แปซิฟิก’

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

9 Feb 2023

World

12 Sep 2022

เลือกตั้งอิตาลี 2022: เมื่อกระแสนำ ‘ฝ่ายขวาสุดโต่ง’ สั่นสะเทือนยุโรป

การลาออกของนายกรัฐมนตรี Mario Draghi ส่งผลสะเทือนอย่างไร? ภูมิทัศน์สนามการเมืองอิตาลีกำลังเปลี่ยนไปอย่างไรบ้างในการเลือกตั้งที่กำลังจะมาถึง? และหากพรรคขวาสุดโต่งกำลังจ่อเข้าสู่อำนาจเป็นแกนนำจัดตั้งรัฐบาลได้จริง ชะตากรรมของการเมือง ประชาธิปไตย และความมั่นคงของสหภาพยุโรปในอนาคตจะเป็นอย่างไร? มุนินทร วัฒนายากร วิเคราะห์ ‘การเมืองอิตาลี’ และ ‘อนาคตของยุโรป’ ในการเลือกตั้งที่กำลังจะมาถึง

มุนินทร วัฒนายากร

12 Sep 2022

World

28 Mar 2022

Crisis beyond Ukraine: มองวิกฤตมนุษยธรรม-กฎหมายระหว่างประเทศ-ความมั่นคง ผ่านสงครามรัสเซีย-ยูเครน

101 ชวนถอดรหัส ‘วิกฤต’ ที่ไกลกว่าวิกฤตความขัดแย้งรัสเซีย-ยูเครน ทำไมกลไกกฎหมายระหว่างประเทศที่ควรจะรักษาสันติภาพโลกเอาไว้จึงล้มเหลว? การเมืองมหาอำนาจจะเดินหน้าไปทางไหนต่อ? และที่สำคัญที่สุดยิ่งกว่าสิ่งอื่นใด ‘มนุษย์’ อยู่ตรงไหนในสมการความขัดแย้งครั้งนี้?

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

28 Mar 2022

World

21 Dec 2021

From Syria to Belarus วิกฤตผู้อพยพลี้ภัยซ้ำสอง ใจกลางการเมืองโลก

ทำไมเบลารุสจึงกลายเป็นเส้นทางอพยพสู่สหภาพยุโรป? นี่คือการใช้ผู้อพยพเล่นการเมืองในเกมต่อรองของเบลารุสต่อสหภาพยุโรปหรือไม่? ทำไมเบลารุสต้องเดินเกมการเมืองเช่นนี้? สหภาพยุโรปมีท่าทีอย่างไร? การเมืองยุโรป-รัสเซียเปลี่ยนไปแค่ไหน? แล้วผู้อพยพอยู่ตรงไหนของวิกฤต? ร่วมถอดรหัส ‘วิกฤตผู้อพยพเบลารุส’ ผ่านทัศนะของ ณัฐนันท์ คุณมาศ, จิตติภัทร พูนขำ และภาณุภัทร จิตเที่ยง

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

21 Dec 2021

World

28 Oct 2021

Exit from the EU?: กระแสออกจากสหภาพยุโรปหายไปไหน

กระแสออกจากสหภาพยุโรปหายไปไหน? พรรคฝ่ายขวาสุดโต่งเหล่านี้ต้องการพาประเทศออกจากสหภาพยุโรปจริงหรือไม่ หรือเพียงแค่ต้องมนต์เบร็กซิตละเมอฝันไปชั่วขณะหนึ่งเท่านั้น? 101 สำรวจกระแสต่อต้านสหภาพยุโรปในหมู่พรรคการเมืองฝ่ายขวาประชานิยมในวันที่กระแสถอนตัวออกจากสหภาพยุโรปเงียบเสียงลง

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

28 Oct 2021

World

6 Oct 2021

การเมืองเยอรมนีหลัง Merkelism กับ จันจิรา สมบัติพูนศิริ

101 ชวน ดร.จันจิรา สมบัติพูนศิริ นักวิจัยประจำสถาบัน German Institute of Global and Area Studies (GIGA) และสถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มาวิเคราะห์การเมืองเยอรมนีและการเมืองโลกในยุคหลัง Merkelism

ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์

6 Oct 2021

Media

29 Sep 2021

101 One-on-One Ep.241 การเมืองเยอรมนีหลัง Merkelism กับ จันจิรา สมบัติพูนศิริ

101 ชวน ดร.จันจิรา สมบัติพูนศิริ นักวิจัยประจำสถาบัน German Institute of Global and Area Studies (GIGA) และสถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มาวิเคราะห์การเมืองเยอรมนีและการเมืองโลกในยุคหลัง Merkelism 

101 One-on-One

29 Sep 2021

World

27 Sep 2021

สิ้นสุด Merkelism?: 16 ปี เยอรมนีในมือ ‘อังเกลา แมร์เคิล’

ในวาระอำลาตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเยอรมนี 101 ชวนสำรวจมรดกทางการเมืองอันซับซ้อนตลอด 16 ปีของ อังเกลา แมร์เคิล พลังแห่งเสถียรภาพผู้ยืนหนึ่งท่ามกลางวิกฤตใหญ่ครั้งแล้วครั้งเล่า

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

27 Sep 2021

101 One-on-One

1 Dec 2020

อ่านฮังการี กับ อรวรา วัฒนวิศาล

101 สนทนากับ ดร. อรวรา วัฒนวิศาล ผู้สนใจศึกษาฮังการี เจ้าของวิทยานิพนธ์ ‘กลุ่มประเทศวิเชกราดกับวิกฤตผู้อพยพในยุโรป: ปัจจัยและกรณีศึกษาฮังการี’ ว่าด้วยฮังการีภายใต้ออร์บาน จนถึงความตึงเครียดที่ตามมาจากการเมืองแบบ illiberal democracy

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

1 Dec 2020

Talk Programmes

25 Sep 2020

101 One-On-One Ep. 181 : อ่านฮังการี กับ อรวรา วัฒนวิศาล

101 สนทนากับ ดร. อรวรา วัฒนวิศาล ผู้สนใจศึกษาฮังการี เจ้าของวิทยานิพนธ์ ‘กลุ่มประเทศวิเชกราดกับวิกฤตผู้อพยพในยุโรป: ปัจจัยและกรณีศึกษาฮังการี’ ว่าด้วยฮังการีภายใต้ออร์บาน จนถึงความตึงเครียดที่ตามมาจากการเมืองแบบ illiberal democracy

101 One-on-One

25 Sep 2020

World

6 Sep 2020

อ่านเอสโตเนียและบอลติก กับ วศิน ปั้นทอง

101 ชวน วศิน ปั้นทอง สนทนาไล่เรียงตั้งแต่เอกลักษณ์และความเฉพาะของภูมิบอลติก การเปลี่ยนผ่านไปสู่ประชาธิปไตยของรัฐ post-soviet รวมทั้งโฉมหน้า โอกาส และความท้าทายของรัฐดิจิทัลอย่างเอสโตเนีย จนไปถึงความสัมพันธ์อันขมขื่นระหว่างรัสเซียและรัฐบอลติก

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

6 Sep 2020
1 2 3

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save