fbpx

World

22 Aug 2023

ไม่มีฮุกกะและลากอม

คอลัมน์ ‘เลียบขั้วโลก’ เดือนนี้ ปรีดี หงษ์สต้น ชวนย้อนกลับไปสำรวจสแกนดิเนเวียผ่านหนังสือ ‘เยือนสแกนดิเนเวีย หัวใจเดนมาร์ค นอรเวย์ สวีเดน’ หนังสือสารคดีปี 1964 โดย ป.วัชราภรณ์ ที่ทำให้เห็นว่า สแกนดิเนเวียในสายตาหนังสือสารคดีไทยในยุคนั้นเป็นอย่างไร และต่างจากตอนนี้หรือไม่

ปรีดี หงษ์สต้น

22 Aug 2023

World

21 Jun 2023

ชวนเที่ยวงานออกแบบที่สวีเดนทางใต้

คอลัมน์ ‘เลียบขั้วโลก’ เดือนนี้ ปรีดี หงษ์สต้น พาเที่ยวงาน Southern Sweden Design Days อันเป็นงานใหญ่ของเหล่าคนในวงการออกแบบของสวีเดน ที่สะท้อนการออกแบบแห่งโลกอนาคต และอีกด้านหนึ่ง อาจหมายถึงการย่างกรายมาของนายทุนด้วย

ปรีดี หงษ์สต้น

21 Jun 2023

World

21 Feb 2023

สวีเดนในฐานะ ‘รัฐการทหาร’ ในต้นยุคใหม่

คอลัมน์ ‘เลียบขั้วโลก’ เดือนนี้ ปรีดี หงษ์สต้น ชวนสำรวจช่วงเวลาของการเป็นรัฐการทหารหรือ Militärstaat ในประเทศที่ดูแสนจะเต็มไปด้วยเสรีภาพและสันติสุขอย่างสวีเดน

ปรีดี หงษ์สต้น

21 Feb 2023

Life & Culture

19 Dec 2022

เสียงของนอร์ดิค

ถ้าคุณชอบฟังเพลงป๊อป ก็เป็นไปได้ว่าคุณน่าจะเคยได้ยินบทเพลงที่ผ่านการรังสรรค์ของโปรดิวเซอร์ชาวนอร์ดิคทั้งหลาย ทั้ง แมกซ์ มาร์ติน หรือ ลุดวิค เยอร์รันสัน

ปรีดี หงษ์สต้น จึงชวนมาสำรวจจักรวาลดนตรีของชาวนอร์ดิค ว่าทำไมพวกเขาจึงเป็นขวัญใจเพลงป๊อปขนาดนั้น ในคอลัมน์ ‘เลียบขั้วโลก’ ประจำเดือนนี้

ปรีดี หงษ์สต้น

19 Dec 2022

Life & Culture

19 Jul 2022

สวีเดน-ฟินแลนด์: ความแค้น 800 ปี ชำระวันนี้ก็ไม่สายไป

คอลัมน์ The Rivalry เดือนนี้ สมศักดิ์ จันทวิชชประภา พาไปรู้จักประวัติศาสตร์ขัดแย้งของประเทศบ้านใกล้เรือนเคียงอย่าง ‘สวีเดน-ฟินแลนด์’

สมศักดิ์ จันทวิชชประภา

19 Jul 2022

World

19 Oct 2021

รถเมล์สีขาว

ปรีดี หงษ์สต้น เล่าเรื่อง ‘รถเมล์สีขาว’ ปฏิบัติการกู้ภัยทางมนุษยธรรมโดยสภากาชาดของสวีเดนและรัฐบาลเดนมาร์ก ที่ใช้รถเมล์ทหารทาสีขาวไปรับนักโทษที่ได้รับการเจรจาให้ปล่อยตัวจากค่ายกักกันของระบอบนาซีเยอรมนี

ปรีดี หงษ์สต้น

19 Oct 2021

World

20 Sep 2021

อัลฟี แอตกินส์รำลึก

ปรีดี หงษ์สต้น ชวนทำความรู้จัก ‘อัลฟี แอตกินส์’ หนังสือเด็กชื่อดังของสวีเดนที่เป็นภาพแทนของอุดมการณ์ประชาธิปไตยสังคมนิยมของสแกนดิเนเวีย

ปรีดี หงษ์สต้น

20 Sep 2021

World

3 Jun 2021

ทำอย่างไรให้รัฐดูแลเรา? เส้นทางการสร้างรัฐสวัสดิการในสวีเดน

โกษม โกยทอง เขียนถึงเส้นทางกว่าจะเป็นรัฐสวัสดิการของสวีเดน พวกเขาผ่านอะไรมาบ้าง และสังคมทำอย่างไรในการประนีประนอมคนทุกชนชั้นให้เห็นผลประโยชน์ร่วมกัน

โกษม โกยทอง

3 Jun 2021

Thai Politics

25 Mar 2021

ประวัติการต่อสู้เพื่อสิทธิการมีที่อยู่อาศัยในสวีเดน

ปรีดี หงษต้น ชวนมองย้อนประวัติศาสตร์การต่อสู้เพื่อสิทธิการมีที่อยู่อาศัยในสวีเดน ซึ่งมีหัวใจสำคัญคือการต่อสู้รวมหมู่ของสหภาพผู้เช่า

ปรีดี หงษ์สต้น

25 Mar 2021

World

24 Nov 2020

กูไม่ใช่หญ้าในรองเท้ามึง!: สุภาษิตจากเลียบขั้วโลก

ปรีดี หงษ์สต้น เขียนถึงการควบรวมดินแดนภูมิศาสตร์ซัปมี (Sápmi) ของสวีเดน กับการปกครองชนพื้นเมืองโดยมีคริสต์ศาสนาเป็นเครื่องมือ การควบรวมดังกล่าวเป็นเหตุให้ชนพื้นเมืองแสดงการต่อต้าน และบางครั้ง การต่อต้านก็ปรากฏผ่านสุภาษิตที่ผู้คนใช้ในชีวิตประจำวัน

ปรีดี หงษ์สต้น

24 Nov 2020

Life & Culture

16 Aug 2020

การสบตากับความทรงจำ

แมท ช่างสุพรรณ เขียนถึง Memories Look at Me บทกวีจากความทรงจำของ Tomas Tranströmer เจ้ารางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมปี 2011 ที่ทำให้นักอ่านรู้สึกเหมือนได้มองเห็นความหลังของตนเอง

แมท ช่างสุพรรณ

16 Aug 2020

World

29 Jun 2020

โอลอฟ พาลเมอร์ ผู้นำสังคมนิยมคนสุดท้ายแห่งสวีเดน

มัธธาณะ รอดยิ้ม ย้อนรำลึกชีวิต โอลอฟ พาลเมอร์ อดีตผู้นำสวีเดน นักสังคมนิยมประชาธิปไตย ที่เสียชีวิตระหว่างดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีสวีเดน

มัธธาณะ รอดยิ้ม

29 Jun 2020

Social Issues

20 Dec 2018

เกรตา ธันเบิร์ก โฉมหน้าของนักเคลื่อนไหวสิ่งแวดล้อมยุคใหม่

เพชร มโนปวิตร เเล่าเรื่องเกรตา ธันเบิร์ก​ นักเคลื่อนไหวเพื่อสิ่งแวดล้อมในวัย 15 ปี ชาวสวีเดน ที่กล่าวสุนทรพจน์เตือนสติบรรดาผู้นำประเทศและนักการเมืองระดับสูงในงานประชุมภาคีแห่งสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศครั้งที่ 24 (COP 24) ที่โปแลนด์ได้อย่างตรงใจคนทั้งโลก

เพชร มโนปวิตร

20 Dec 2018

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save