fbpx

Global Affairs

22 Mar 2022

บทเรียนจากการถล่มเลนินกราดถึงสมรภูมิเคียฟ

วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ เล่าย้อนเมื่อคราวเที่ยวรัสเซียปี 2017 รำลึกถึงประวัติศาสตร์อันขมขื่นของรัสเซียช่วงที่โดนบุกโดยกองทัพนาซีเยอรมันช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง อันสะท้อนภาพถึงสิ่งที่ยูเครนกำลังเผชิญในปัจจุบัน

วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์

22 Mar 2022

World

2 Mar 2022

อาชญากรรมรุกราน (crime of aggression)

ปกป้อง ศรีสนิท เขียนถึงอาชญากรรมรุกราน (crime of aggression) กรณีข้อพิพาทระหว่างรัสเซียกับยูเครนซึ่งทำท่าจะลุกลามบานปลายว่าผิดกฎหมายและสนธิสัญญาระหว่างประเทศอย่างไรบ้าง

ปกป้อง ศรีสนิท

2 Mar 2022

Books

30 Aug 2021

กลับไปอ่าน ‘สาวไห้’ ของ วิตต์ สุทธเสถียร ในฐานะ ‘วรรณกรรมแห่งการต่อต้าน’

อาทิตย์ ศรีจันทร์ เขียนถึงวรรณกรรม ‘สาวไห้’ ของ วิตต์ สุทธเสถียร ในฐานะ ‘วรรณกรรมแห่งการต่อต้านอำนาจรัฐ’ ผ่านการใช้สำนวนภาษา ‘สะวิง’ และความปรารถนาเรื่องเพศของผู้หญิงเป็นเครื่องมือในการตอบโต้การควบคุมของรัฐ

อาทิตย์ ศรีจันทร์

30 Aug 2021

Life & Culture

24 Jun 2021

บุญผ่อง สิริเวชชะพันธ์ วีรบุรุษตัวจริงที่ไม่มีในตำราเรียน

วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ เล่าวีรกรรมนายบุญผ่อง สิริเวชชะพันธ์ วีรบุรุษสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง ที่คนไทยไม่ค่อยรู้จัก

วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์

24 Jun 2021

Asia

18 Aug 2020

รำลึกสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สอง – ฉลองวาทกรรมความเป็นเหยื่อ

ธีวินท์ สุพุทธิกุล วิเคราะห์การใช้การตีความอดีตเป็นเครื่องมือในเกมอำนาจในภูมิภาคเอเชียตะวันออก โดยเฉพาะการใช้ ‘วาทกรรมความเป็นเหยื่อ’ หลังสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2 ในฐานะต้นทุนเพื่อสร้างความชอบธรรมในทางการเมืองและการต่างประเทศ

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

18 Aug 2020

Life & Culture

22 Jul 2020

เมื่อเพชรบูรณ์เกือบได้เป็นเมืองหลวง

วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ เขียนถึงแนวคิดการย้ายเมืองหลวงไปเพชรบูรณ์ของ จอมพล ป. พิบูลสงคราม ในช่วงปลายสงครามโลกครั้งที่สอง

วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์

22 Jul 2020

World

7 Oct 2019

หญิงบำเรอ : ประวัติศาสตร์ บาดแผล และการต่อรองบนเวทีระหว่างประเทศของเกาหลีใต้กับญี่ปุ่น

สุชาดา เลี้ยงชูศักดิ์ เขียนถึงประวัติศาสตร์ของ ‘หญิงบำเรอ’ (comfort women) หนึ่งในปมขัดแย้งสำคัญระหว่างเกาหลีใต้กับญี่ปุ่น ซึ่งยืดเยื้อมายาวนาน และยังไม่มีทีท่าว่าจะได้ข้อยุติในเร็ววัน

สุชาดา เลี้ยงชูศักดิ์

7 Oct 2019

World

1 Feb 2019

ภูมิรัฐศาสตร์ว่าด้วยหมู่เกาะคูริล : ความสัมพันธ์รัสเซีย-ญี่ปุ่น ข้ามไม่พ้น ‘มรดกตกทอด’ ของสงครามโลกครั้งที่ 2 

จิตติภัทร พูนขำ เขียนถึงข้อพิพาทหมู่เกาะคูริล ระหว่างรัสเซียกับญี่ปุ่น ซึ่งเป็นมรดกตกทอดมาตั้งแต่ช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง และปัจจุบันก็ยังไม่มีทีท่าว่าจะตกลงกันได้ เนื่องด้วย ‘ผลประโยชน์แห่งชาติ’ ที่ต่างกันของทั้งสองฝ่าย

จิตติภัทร พูนขำ

1 Feb 2019

Interviews

9 Apr 2018

“รบเถิดอรชุน” คุยเรื่องอเมริกากับภาณุ ตรัยเวช

ชลธร วงศ์รัศมี คุยกับ ภาณุ ตรัยเวช ว่าด้วยผลงานเล่มล่าสุด ‘America first รบเถิดอรชุน’ เจาะลึกบทบาทของอเมริกาช่วงก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 และมองย้อนกลับมายังสถานการณ์ปัจจุบ้ัน

ชลธร วงศ์รัศมี

9 Apr 2018

Lifestyle

28 Feb 2018

สมรภูมิสุดท้าย โอกินาว่า

ธีรภัทร เจริญสุข พาเลาะเข้าไปในอดีตของ ‘โอกินาว่า’ ดินแดนสวรรค์ทะเลใต้ที่มีความสวยงามของหาดทรายและชายทะเล มีวัฒนธรรมที่ผสมระหว่างอารยธรรมริวกิวพื้นเมืองและความเป็นญี่ปุ่นทันสมัย แต่อีกด้านหนึ่ง โอกินาว่าก็เป็นเกาะที่มีประวัติศาสตร์โชกชุ่มไปด้วยเลือด การกดขี่ข่มเหง และความขัดแย้งระหว่างผู้เข้ามายึดครอง และผู้ถูกปกครอง เป็นบาดแผลปรากฏอยู่ตามสถานที่ต่างๆ และยังส่งผลความขัดแย้งนั้นมาถึงปัจจุบัน

ธีรภัทร เจริญสุข

28 Feb 2018

Life & Culture

20 Feb 2018

มนุษย์ เผด็จการ บนโลกที่พลิกผัน

จากนวนิยายเรื่อง An Artist of the Floating World ของคาซูโอะ อิชิกูโระ นักเขียนรางวัลโนเบลคนล่าสุด ถึงแนวคิด “มวลชน” ของ Hannah Arendt ธร ปีติดล พยายามคลี่หาคำตอบว่าทำไมระบอบที่โหดร้ายและกดขี่ข่มเหงเพื่อนมนุษย์อย่างนาซีในเยอรมนีและฟาสซิสต์ในอิตาลี ถึงได้มีผู้คนสนับสนุนมากมาย

ธร ปีติดล

20 Feb 2018

Global Affairs

31 Jan 2018

Darkest Hour สุนทรพจน์เปลี่ยนโลก

วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ เล่าถึงสุนทรพจน์เปลี่ยนโลกใน Darkest Hour ของวินสตัน เชอร์ชิล ซึ่งนักการเมืองคู่แข่งถึงกับกล่าวว่า สุนทรพจน์ของเชอร์ชิลกลายเป็นอาวุธอันทรงประสิทธิภาพที่สุดในการต่อสู้กับฮิตเลอร์

วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์

31 Jan 2018

World

6 Dec 2017

นาซีศึกษา : อ่านอดีต เพื่อเข้าใจปัจจุบัน กับ ตุลย์ อิศรางกูร ณ อยุธยา

ตุลย์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดห้องเรียนนาซีศึกษา สนทนากับ อันโตนีโอ โฉมชา เรื่อง “โฮโลคอสต์” (holocaust) หรือการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ชาวยิว และบทเรียนสำหรับสังคมไทย

กองบรรณาธิการ

6 Dec 2017

Global Affairs

25 Aug 2017

Spirit of Dunkirk คือผู้ชนะ

วรากรณ์ สามโกเศศ เล่าเรื่องจิตวิญญาณแห่งดันเคิร์ก เบื้องหลังวีรกรรมช่วงสงครามโลกครั้งที่สองที่แปลงเรื่อง ‘ลบ’ ให้เป็น ‘บวก’ ด้วยปัญญา จนกลายเป็นภาพยนตร์ Dunkirk ที่โด่งดังทั่วโลก

วรากรณ์ สามโกเศศ

25 Aug 2017

People

17 Aug 2017

เรื่องของสมเด็จพระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า กับนายปรีดี พนมยงค์ ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2

กษิดิศ อนันทนาธร เล่าประวัติศาสตร์ช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง เมื่อปรีดี พนมยงค์ มีบทบาทสำคัญในการถวายความอารักขาแด่สมเด็จพระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า (สมเด็จย่าของในหลวงรัชกาลที่ 8 และ 9) ให้พ้นภัยสงคราม

กษิดิศ อนันทนาธร

17 Aug 2017

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save