fbpx

Global Affairs

12 Jan 2024

สงครามยูเครนบอกอะไรสีจิ้นผิงกับไบเดน

อาร์ม ตั้งนิรันดร เขียนถึงนัยจากความเป็นไปของสงครามยูเครนในปัจจุบัน ที่มีต่อทิศทางการเดินหมากของสหรัฐฯ และจีน ในกรณีไต้หวัน

อาร์ม ตั้งนิรันดร

12 Jan 2024

World

7 Aug 2023

สันติภาพของยูเครนบนทางเลือกแห่งอาวุธนิวเคลียร์: ‘คงครอบครองไว้’ หรือ ‘สละละทิ้งไป’

กฤตวรรณ ประทุม ชวนสำรวจข้อถกเถียงว่าด้วย ‘การครอบครองไว้’ หรือ ‘การสละละทิ้งไป’ ซึ่งอาวุธนิวเคลียร์ของยูเครน ที่เคยมีไว้ในครอบครองหลังการล่มสลายของสหภาพโซเวียต ทางเลือกเหล่านี้ส่งผลอะไรต่อการเมืองระหว่างประเทศในยุคหลังสงครามเย็น โดยเฉพาะในสงครามรัสเซีย-ยูเครนที่กำลังดำเนินอยู่ในปัจจุบันนี้

กองบรรณาธิการ

7 Aug 2023

World

25 Jun 2023

‘แอรโดก์อาน อะเกน’ เปิดม่านการเมืองตุรกีหลังเลือกตั้งใหญ่ กับ ยาสมิน ซัตตาร์

101 สนทนากับ ยาสมิน ซัตตาร์ คณะรัฐศาสตร์ ม.สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ร่วมทำความเข้าใจการเมืองตุรกีอย่างเข้มข้นกับผู้เชี่ยวชาญ ผลการเลือกตั้งครั้งล่าสุดสะท้อนอะไร และทำไมชัยชนะของแอรโดก์อานจึงเป็นการหักปากกาเซียนนักวิเคราะห์หลายสำนัก

เพ็ญพิชชา มุ่งงาม

25 Jun 2023

Delegation of the European Union to Thailand x 101

1 Jun 2023

1 ปี สงครามรัสเซีย-ยูเครน: หนทางสู่สันติภาพที่ไม่ลงรอย

Delegation of the European Union to Thailand x 101 ชวนทบทวน 1 ปีที่ผ่านมาของสงครามรัสเซีย-ยูเครนและหนทางสู่สันติภาพ ผ่านมุมมองยุโรป มุมมองของกลุ่มประเทศซีกโลกใต้ และมุมมองจากพื้นที่จริง

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

1 Jun 2023

World

27 Apr 2023

ญี่ปุ่น G7 กับการเป็นประเทศกลุ่มผู้นำโลก

ธีวินท์ สุพุทธิกุล เขียนถึง ญี่ปุ่นกับการเป็นเจ้าภาพการประชุม G7 ที่เป็นทั้งโอกาสในการผลักดันวาระสันติภาพเพื่อเตือนใจผู้นำโลกในฐานะเหยื่อนิวเคลียร์รายแรกและรายเดียวของโลก และเป็นทั้งแรงกดดันให้ญี่ปุ่นในฐานะมหาอำนาจสายพลเรือนมีพฤติกรรมตามมาตรฐานของมหาอำนาจ ที่ในเวลานี้ที่วาระโลกอยู่ที่สงครามรัสเซีย-ยูเครนและประเด็นความมั่นคง

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

27 Apr 2023

World

27 Apr 2023

“เราไม่สามารถชนะสงครามด้วยกวีนิพนธ์ แต่กวีเป็นประจักษ์พยานต่อสงครามได้” ‘เซอร์ฮี ซาดาน’ กวียูเครนผู้ต่อต้านจักรวรรดินิยมรัสเซีย

ไกรวรรณ สีดาฟอง เขียนถึง เรื่องราวของ ‘เซอร์ฮี ซาดาน’ นักเขียนยูเครนผู้สะท้อนภาพความพลิกผันอย่างรุนแรงและความสามัญธรรมดาที่ดำเนินไปของชีวิตผู้คนเมื่อสงครามและการทำลายล้างเข้ามาสู่โลก ผ่านผลงานนวนิยาย ความเรียง บทกวีและบทเพลง และเชื่อว่า นักเขียนมีบทบาทสำคัญในการต่อสู้กับท่าทีอาณานิคมของรัสเซีย โดยการสร้างอัตลักษณ์ของประเทศผ่านศิลปะ

ไกรวรรณ สีดาฟอง

27 Apr 2023

World

24 Apr 2023

‘สงครามรัสเซีย-ยูเครน’ ในมุมทูตยุโรป: 1 ปีที่สันติภาพยังคงเลือนราง

ตลอดกว่า 1 ปีที่ผ่านมา ยุโรปมองสงครามรัสเซีย-ยูเครนอย่างไร? สงครามได้เปลี่ยนยุโรปไปอย่างไรบ้าง? สงครามจะเป็นอย่างไรต่อไป? และอะไรที่จะเปิดโอกาสให้สันติภาพเกิดขึ้นได้อย่างแท้จริง? 101 ชวนอ่าน ‘สงครามรัสเซีย-ยูเครน’ ผ่านมุมมองของทูตสหภาพยุโรป โปแลนด์ เยอรมนี และฟินแลนด์

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

24 Apr 2023

World

3 Apr 2023

“ถ้ารัสเซียหยุดรบ สงครามจะจบ แต่ถ้าเราหยุดสู้ เราจะหายไปจากโลกนี้” เรื่องเล่าจากพ่อ-ลูก ‘ทหารยูเครน’ ในสมรภูมิบักห์มุต

กลางสมรภูมิรบที่บักห์มุต E. และ A. คนธรรดาที่ผันตัวไปเป็นทหารกำลังต่อกรกับกองทัพรัสเซีย

นี่คือเรื่องเล่าส่งตรงจากหน้าแนวรบ เหตุใดคนธรรมดาอย่างพวกเขาจึงตัดสินใจลุกขึ้นมาจับปืนเพื่อประเทศ สถานการณ์ที่แนวรบในบักห์มุตเป็นอย่างไร กองทัพและทหารรัสเซียไร้น้ำยาจริงหรือไม่ อะไรคือข้อได้เปรียบเสียเปรียบของแต่ละฝ่าย อะไรคือความต่างระหว่างทหารยูเครนและทหารรัสเซีย และพวกเขาสู้เพื่ออะไรกันแน่

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

3 Apr 2023

World

2 Mar 2023

หนึ่งปีของระเบียบโลกที่สุดขั้ว: ความระส่ำระสายอย่างเด็กไร้เดียงสา…ใครคือคนผิด

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ วิเคราะห์สงครามรัสเซียบุกยูเครนผ่านมุมมองประวัติศาสตร์ ซึ่งจะทำให้เข้าใจความคิดของปูตินมากขึ้นเมื่อมองรัสเซียในการเปลี่ยนผ่านแต่ละยุค

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

2 Mar 2023

World

27 Feb 2023

1 ปีที่ยังไม่สิ้นสุดของสงครามรัสเซีย-ยูเครน กับ จิตติภัทร พูนขำ

สงครามดำเนินไปอย่างไรบ้างในช่วง 1 ปีที่ผ่านมา? สงครามที่แปรเปลี่ยนไปเป็น ‘สงครามพร่ากำลัง’ จะยืดเยื้อต่อไปอีกนานแค่ไหน? ฉากทัศน์ต่อไปของสงครามคืออะไร? สงครามเปลี่ยนดุลอำนาจและสั่นสะเทือนระเบียบโลกไปอย่างไรบ้าง? 101 ชวน จิตติภัทร พูนขำ มอง 1 ปีของสงครามรัสเซีย-ยูเครน พร้อมมองทิศทางการเปลี่ยนแปลงของระเบียบโลกนับจากนี้

ภัคจิรา มาตาพิทักษ์

27 Feb 2023

World

24 Feb 2023

“ยูเครนคือใจกลางสำคัญที่จะกำหนดประวัติศาสตร์ยุโรป” บทสนทนาในวันครบรอบ 1 ปีสงครามรัสเซีย-ยูเครน กับ Volodymyr Yermolenko นักปรัชญายูเครน

ในห้วงเวลาที่ยูเครนต่อสู้เพื่อมุ่งหน้าสู่อนาคตท่ามกลางความโหดร้ายและความรุนแรง ประวัติศาสตร์แบบไหนกำลังดำเนินอยู่ในยูเครนกันแน่? 101 สนทนากับ Volodymyr Yermolenko ว่าด้วยเรื่องราวระหว่างการครอบงำ-ความรุนแรงและการปลดแอกที่หมุนเวียนกลับมาโลดแล่นอีกครั้งในยูเครน

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

24 Feb 2023

101 One-on-One

15 Feb 2023

101 One-on-One Ep.291 ระเบียบโลกหลัง 1 ปีสงครามรัสเซีย-ยูเครน กับ จิตติภัทร พูนขำ

101 ชวน จิตติภัทร พูนขำ มอง 1 ปีที่ผ่านมาของสงครามรัสเซีย-ยูเครน พร้อมมองทิศทางการเปลี่ยนแปลงของระเบียบโลกนับจากนี้

101 One-on-One

15 Feb 2023

World

13 Feb 2023

‘ลาก่อนบิ๊กแมคและแฮปปี้มีล’: เมื่อ ‘แมคโดนัลด์’ เป็นมาตรวัดรัสเซียในการเมืองโลก

อัยย์ลดา แซ่โค้ว เขียนถึง การจากไปของ ‘แมคโดนัลด์’ ในรัสเซียหลังสงครามรัสเซีย-ยูเครน ซึ่งสะท้อนถึงการหวนคืนสู่ยุคแห่งการปิดกั้นตนเองจากโลกระหว่างประเทศ เหมือนครั้งยังเป็นสหภาพโซเวียต

อัยย์ลดา แซ่โค้ว

13 Feb 2023

World

31 Jan 2023

‘โรคยังระบาด สงครามยังรบต่อ อากาศยังผันผวน’ โลก 2023 ในวันที่ยังไม่เห็นแสงสว่างปลายอุโมงค์ กับ สุรชาติ บำรุงสุข

ในเมื่อโลกยังไม่เห็นแสงสว่างที่ปลายอุโมงค์ 101 สนทนากับ สุรชาติ บำรุงสุข ศาสตราจารย์กิตติคุณ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ว่าด้วยโจทย์วิกฤตโลกที่เรายังต้องเผชิญต่อไปในอนาคต ทิศทางของระเบียบโลกกลางสงครามเย็นครั้งใหม่ในศตวรรษที่ 21 และที่ทางของการเมืองไทย-การต่างประเทศไทยในกระแสลมแห่งการเลือกตั้ง

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

31 Jan 2023
1 2 3

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save