fbpx

Global Affairs

29 Feb 2024

อย่าให้ทฤษฎีเป็นนายเรา

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ เปิดสนทนาว่าด้วยหลากวิธีในการใช้ทฤษฎีเพื่อศึกษาการเมืองระหว่างประเทศ และข้อพึงระวังเพื่อไม่ให้ติดทฤษฎีกลายเป็นนายเรา

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

29 Feb 2024

World

27 Oct 2023

ชวนอ่าน ‘สัตว์สงคราม’

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ ชวนอ่านหนังสือ ‘สัตว์สงคราม’ ในบริบทที่ความรุนแรงในฉนวนกาซาปะทุขึ้นมาอีกครั้ง พร้อมตั้งคำถามถึง’อนาคต’ ที่ตั้งต้นจากสงครามในปัจจุบัน

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

27 Oct 2023

World

12 Jun 2023

100 ปี เฮนรี คิสซินเจอร์: ร่องรอยความคิดของ ‘บุรุษสงครามเย็น’ ในระเบียบโลก

คิสซินเจอร์ ‘คิด’ ต่อความเป็นไปของโลกตลอดเวลาที่ผ่านมาอย่างไร? โจทย์ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศแบบไหนที่คิสซินเจอร์ตั้งไว้? อะไรคือมรดกทางความคิดที่คิสซินเจอร์ฝากไว้ในโลกการเมืองระหว่างประเทศ? และเราควรทำความเข้าใจคิสซินเจอร์ด้วยหมวกใบไหนกันแน่?

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

12 Jun 2023

World

23 May 2023

เมื่อความบังเอิญสร้างปาฏิหาริย์

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ เขียนถึงที่ทางของ ‘ปาฏิหาริย์’ และ ‘ความบังเอิญ’ ในความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ และอะไรคือนัยสำคัญของแนวคิดทั้งสองในการทำความเข้าใจประวัติศาสตร์การเมืองไทย เพื่อสนทนากับหนังสือ “ปาฏิหาริย์นั้นมีจริง : ความบังเอิญของไทยในการเอาตัวรอดจากอังกฤษหลังสงครามโลกครั้งที่ 2”

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

23 May 2023

Global Affairs

25 Apr 2023

ความเป็นจริงข้างไหน?

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ เสนอหลักคิดในการเริ่มต้นอ่านทฤษฎีการเมืองระหว่างประเทศ เพื่อหาคำตอบว่าเราจะศึกษาทฤษฎีที่เต็มไปด้วยความอลหม่านอย่างไร

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

25 Apr 2023

Global Affairs

8 Dec 2022

คิสซินเจอร์กับ Post-Negotiation

ศุภมิตร ปิติพัฒน์เขียนถึงวิธีคิดเกี่ยวกับเจรจาต่อรองของเฮนรี คิสซินเจอร์ นักการทูตชื่อดังที่มีบทบาทสำคัญในการเจรจาระหว่างสหรัฐฯ กับจีนในยุคสงครามเย็น

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

8 Dec 2022

World

15 Nov 2022

สัจนิยมกับความเป็นโศกนาฏกรรมของการเมืองระหว่างประเทศ

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ เขียนถึงทฤษฎีสัจนิยม ซึ่งครองความเป็นเจ้าในอาณาบริเวณการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาเกือบห้าสิบปี

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

15 Nov 2022

World

9 Sep 2022

ก่อนสิ้นรัชสมัย

ในวาระการเสด็จสวรรคตของสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 ศุภมิตร ปิติพัฒน์ ชวนมองภาพการจัดวางตำแหน่งแห่งที่ของสถาบันพระมหากษัตริย์อังกฤษในพื้นที่การต่างประเทศช่วงเปลี่ยนผ่านยุคจักรวรรดินิยม ผ่านพลังทางวัฒนธรรมและสายสัมพันธ์ทางจิตใจและความรู้สึก จากข้อเขียนของ Alastair Stewart

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

9 Sep 2022

World

15 Aug 2022

ทางทฤษฎี

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ เขียนและวิพากษ์ถึงข้อถกเถียง ‘ทางทฤษฎี’ ระหว่างทฤษฎีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกระแสหลักที่มีสหรัฐฯ และอังกฤษเป็นศูนย์กลาง กับ Global IR ที่เชื่อว่า ทุกส่วนในโลกควรมีโอกาสการเสนอความรู้จากตำแหน่งแห่งที่ของตัวเอง

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

15 Aug 2022

US

18 Jul 2022

เรียนฐานคิดของเสรีนิยม (ไม่ใหม่) จากงานของนักรัฐศาสตร์รัฐธรรมนูญอเมริกัน Vincent Ostrom (1919-2012)

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ ชวนอ่านฐานคิดของ ‘เสรีนิยม’ ในการเมืองระหว่างประเทศผ่านงานเขียนของ Vincent Ostrom นักรัฐศาสตร์รัฐธรรมนูญอเมริกันผู้เลื่องชื่อ

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

18 Jul 2022

World

7 Jun 2022

วิชาเลือกเสรี

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ เขียนถึงศิลปศาสตร์ของผู้นำทางการเมือง ซึ่งเกี่ยวโยงถึง 3 วิธีอ่านหนังสือการเมืองการปกครองไทย: พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ (พ.ศ. 2475 – 2540) ของภูริ ฟูวงศ์เจริญ

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

7 Jun 2022

Life & Culture

30 Mar 2022

ระลึกถึง Madeleine Albright (1937 – 2022)

ศุภมิตร ปิติพัฒน์เขียนระลึกถึง Madeleine Albright อดีตรัฐมนตรีต่างประเทศสหรัฐอเมริกาที่เพิ่งถึงแก่อนิจกรรม และชวนสำรวจความกังวลต่อลัทธิฟาสซิสต์ ซึ่งเป็นความกังวลสุดท้ายในชีวิตเธอ

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

30 Mar 2022

World

2 Mar 2022

การศึกษานโยบายต่างประเทศไทยตาม research program ontological security ของอาจารย์พีระ เจริญวัฒนนุกูล (หรือ ตามแนวคิด – ต่อทฤษฎี ฯ ตอนที่ 3)

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ ชวนอ่านการสร้างองค์ความรู้ในวิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศโดยใช้ research program ผ่านหนังสือของพีระ เจริญวัฒนนุกูล

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

2 Mar 2022

Politics

9 Sep 2021

ตามแนวคิด-ต่อทฤษฎี จากงานการต่างประเทศไทยของพีระ เจริญวัฒนนุกูล (ตอนที่ 2)

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ ชวนอ่านหนังสือของพีระ เจริญวัฒนนุกูลว่าด้วยการตีความนโยบายต่างประเทศไทยในสงครามโลกที่สองใหม่ ซึ่งมีปมทางจิตวิทยาเป็นปัจจัยขับเคลื่อนสำคัญ

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

9 Sep 2021

Global Affairs

5 Aug 2021

ตามแนวคิด-ต่อทฤษฎี จากงานการต่างประเทศไทยของพีระ เจริญวัฒนนุกูล (ตอนที่ 1)

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ชวนอ่านแนวคิด ‘ความมั่นคงเชิงภวสภาพ’ ที่มองว่าปัญหาความมั่นคงของรัฐเชื่อมโยงกับแผลในใจของสังคมที่รู้สึกว่าเกียรติภูมิของประเทศชาติบ้านเมืองของตนถูกกระทบกระทั่งโดยอำนาจภายนอกที่เหนือกว่าเข้ามาบังคับ

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

5 Aug 2021
1 2 5

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save