fbpx

Thai Politics

11 May 2021

ส่วนขยายของ “ข้อเสนออาวองต์-การ์ด”: จากกีต้า คาปัวร์สู่ศิลปะและการประท้วงในไทย

ธนาวิ โชติประดิษฐ ชวนมาทบทวน ความเป็น “อาวองต์-การ์ด” ของผลงานศิลปะที่ปรากฏในชุมนุมทางการเมือง เพื่อทำหน้าที่วิพากษ์ ต่อสู้ และท้าทายอำนาจนำในสังคม

ธนาวิ โชติประดิษฐ

11 May 2021

Art & Design

3 Dec 2020

คิดคิดมิวายกังวลให้หม่นฤทัยหมอง

ธนาวิ โชติประดิษฐ เขียนถึงความสำคัญของการชมศิลปะ คนทำงานศิลปะ และพิพิธภัณฑ์ศิลปะในฐานะเครื่องวัดคุณภาพชีวิตและการบริหารจัดการภาษีของประชาชนโดยรัฐ

ธนาวิ โชติประดิษฐ

3 Dec 2020

Trends

18 Nov 2020

Listening NYC: เมื่อการออกแบบมีส่วนร่วมปฏิรูปวงการตำรวจ

Eyedropper Fill พาไปรู้จัก Listening NYC แคมเปญที่ใช้ ‘การคิดเชิงออกแบบ’ เข้าไปร่วมปรับปรุงการทำงานของตำรวจในนิวยอร์ก ทำให้ผู้คนในสังคมมีส่วนร่วมในการปฏิรูปวงการตำรวจ

อายดรอปเปอร์ ฟิลล์

18 Nov 2020

Art & Design

30 Oct 2020

“เราไม่ได้ใช้เหตุผลในการเข้าใจศิลปะ แต่เราเข้าใจเพราะเราเป็นมนุษย์” – ถิง ชู

101 สนทนากับ ถิง ชู นักวาดภาพประกอบและเจ้าของ Ting Chu Studio ทั้งในบทบาทของความเป็นถิง ชู รวมไปถึงบทบาทของความเป็นศิลปินที่วิเคราะห์และวิพากษ์โลกของศิลปะ

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย

30 Oct 2020

Thai Politics

19 Oct 2020

อู้กับเพ็ญสุภา สุขคตะ เมื่อม็อบฅนเมืองไม่ ‘ต๊ะต่อนยอน’ ตามที่เขาหลอกลวง

คุยกับ เพ็ญสุภา สุขคตะ นักประวัติศาสตร์ศิลปะ ว่าด้วยอัตลักษณ์ในการประท้วงของคนภาคเหนือ ที่ใช้ทั้งภาษา ตัวอักษร และข้าวของในวัฒนธรรมประเพณีล้านนามาแสดงออกทางการเมือง

ชลิดา หนูหล้า

19 Oct 2020

Life & Culture

6 Aug 2020

วิญญาณในภาพถ่าย

ธนาวิ โชติประดิษฐ เขียนถึงนิทรรศการภาพถ่าย For Those Who Died Trying (And Those Who Endure) ของลุค ดักเกิลบี ที่ปลุกตัวตนของผู้เสียชีวิตหรือสูญหายจากการต่อสู้เพื่อสิทธิมนุษยชนให้กลับมาสู่ความทรงจำและสายตาของสังคมอีกครั้ง

ธนาวิ โชติประดิษฐ

6 Aug 2020

Thai Politics

13 Jul 2019

ศิลปะแห่งการช่วงชิงความทรงจำ (ทางการเมือง) กับ ธนาวิ โชติประดิษฐ

ศิลปะแห่งการช่วงชิงความทรงจำ (ทางการเมือง) กับ ธนาวิ โชติประดิษฐ จากหมุดคณะราษฎร ถึงหมุดหน้าใส จากพระบรมรูปทรงม้า ถึงอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย เมื่อศิลปะถูกนำมาใช้ในการช่วงชิง-รื้อสร้าง ความทรงจำทางการเมือง

กองบรรณาธิการ

13 Jul 2019

Talk Programmes

12 Jul 2019

101 one-on-one Ep.78 “ศิลปะแห่งการช่วงชิงความทรงจำ (ทางการเมือง)” กับ ธนาวิ โชติประดิษฐ

รายการ 101 one-on-one Ep.78 อ่านประวัติศาสตร์ผ่านศิลปะและวัตถุทางการเมือง จากหมุดคณะราษฎรถึงหมุดหน้าใส จากพระบรมรูปทรงม้าถึงอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย เมื่อศิลปะถูกนำมาใช้ในการช่วงชิง-รื้อสร้าง ความทรงจำ

101 One-on-One

12 Jul 2019

Spotlights

22 Mar 2019

จัดจ้าน น้ำเน่า เบาหวิว : เปิดใจ 4 ศิลปินรุ่นใหม่ มองประเทศไทยหลังเลือกตั้ง 2562

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล ล้อมวงคุยกับ 4 ศิลปินรุ่นใหม่ มองการเมืองไทยหลังเลือกตั้ง 2562

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล

22 Mar 2019

Spotlights

5 Jun 2018

“วันทนีย์-กบ ไมโคร-Liberate P” เมื่อศิลปินไทยยืนตรงข้ามเผด็จการ

ที่อยู่ที่ยืนของแวดวงศิลปวัฒนธรรมไทยกำลังถูกจับตามองเป็นพิเศษ เมื่อศิลปินไทยเลือกยืนตรงข้ามกับเผด็จการ พวกเขาคิดอ่านและมองเห็นความท้าทายอะไรในการยืนยันสิทธิเสรีภาพ

ธิติ มีแต้ม

5 Jun 2018

Interviews

14 Apr 2018

คุยกับ ภาสกร อินทุมาร ว่าด้วยการละคอน วิพากษ์ละครเวทีร่วมสมัย และละครโทรทัศน์ไทย คนทำงานศิลปะอยู่อย่างไรในบ้านเมืองนี้

คุยกับ ดร.ภาสกร อินทุมาร ว่าด้วยละครการเมือง แวดวงละครเวทีของไทยเป็นอย่างไร ละครทำหน้าที่อะไรต่อสังคมได้บ้าง การประสาน ‘ศิลปะ’ กับ ‘การเมือง’ ในยุคที่ไม่สามารถพูดอะไรออกไปตรงๆ เป็นแบบไหน ทำอย่างไรที่จะสะท้อนมุมมองต่อการเมืองผ่านละครอย่างมีชั้นเชิง

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

14 Apr 2018

World

13 Mar 2018

ศิลปะกับการเมืองและการต่อต้านเผด็จการทหาร : ประสบการณ์ของพม่า

สำหรับพม่า ศิลปะคือการเมือง ลลิตา หาญวงษ์ สำรวจศิลปะในการเมืองพม่า และการเมืองในศิลปะพม่า ผ่านผลงานของศิลปินเพลงฮิปฮอป ศิลปินตลก และศิลปินนักวาดภาพมือฉมัง ผู้ยอมแลกอิสรภาพเพื่อสิทธิเสรีภาพและประชาธิปไตย

ลลิตา หาญวงษ์

13 Mar 2018

Thai Politics

31 Jan 2018

COMMUNICATION (IS ACTUALLY) ARTS : ปราบ เลาหะโรจนพันธ์ นัก ‘สื่อสาร’ ที่มองมากกว่าการ ‘สื่อ’ แค่ ‘สาร’

ประเด็นการเมืองกับการสื่อสารให้ดูดีฟังดูเป็นคนละเรื่อง แต่อีกนัยก็เป็นเรื่องเดียวกันที่แยกกันไม่ออก ลองมาฟังแนวคิดของอดีตเด็กบัญชีที่กลายมาเป็นนักสื่อสารทางการเมืองมากฝีมือผู้น่าจับตามองอย่าง ปราบ เลาหะโรจนพันธ์ ว่าสองสิ่งนี้สำคัญและเป็น ‘ศิลปะ’ อย่างไร

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

31 Jan 2018

Thai Politics

9 May 2017

ศิลปะร่วมสมัย การเมืองไทย และหมุดเจ้าปัญหา กับ ธนาวิ โชติประดิษฐ

101 ชวน ธนาวิ โชติประดิษฐ มานั่งคุยเรื่องศิลปะร่วมสมัยกับการเมืองไทย พร้อมวิเคราะห์-วิพากษ์เรื่องหมุดเจ้าปัญหา

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล

9 May 2017

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save