fbpx

Thai Politics

4 Aug 2023

บทบันทึกมรดก คสช. ที่ยังตกค้างในการปกครองท้องถิ่น

ณัฐกร วิทิตานนท์ สรุปรวมมรดก คสช. ที่ยังตกค้างเป็นคำสั่งและกฎหมายบังคับการปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งปิดประตูการกระจายอำนาจการปกครองไทย

ณัฐกร วิทิตานนท์

4 Aug 2023

World

12 Dec 2022

กิจการต่างประเทศของไทยกับเวลาที่หายไปหลังรัฐประหาร 2014

สุภลักษณ์เขียนถึงกิจการต่างประเทศของไทยในยุคของประยุทธ์ จันทร์โอชา ที่ดูเหมือนว่าจะถอยหลังลงเพราะความไม่เข้าใจโลกและรัฐบาลมีที่มาจากรัฐประหาร

สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี

12 Dec 2022

Politics

31 Oct 2022

การต่อสู้ที่ไม่จบสิ้นของ ‘วิญญัติ ชาติมนตรี’ ทนายจำเลยคดีการเมืองในโลกสองมาตรฐาน

101 พูดคุยกับวิญญัติ ชาติมนตรี ถึงชีวิตที่ผ่านมาของเขาตั้งแต่ก่อนเข้าสู่โลกกฎหมายและจุดเปลี่ยนแปลงในชีวิตทนายความที่เริ่มมาทำคดีการเมืองอย่างต่อเนื่องจนปัจจุบัน

วจนา วรรลยางกูร

31 Oct 2022

Thai Politics

24 May 2022

ปีกอนุรักษนิยม ครองอำนาจแต่ไม่ครองใจ

วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ ตั้งข้อสังเกต 10 ประการที่ทำให้ฝ่ายอนุรักษนิยมไทย ไม่สามารถครองใจประชาชนได้ แม้ครองอำนาจมาแล้วยาวนาน

วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์

24 May 2022

Thai Politics

22 May 2022

8 ปี รัฐประหาร: จงเติม __ (ชื่อระบอบ) __ ในช่องว่าง

8 ปีที่ผ่านมา อำนาจคสช. พาประเทศไทยไปสู่ระบอบการเมืองแบบไหนกันแน่? ครบรอบ 8 ปีรัฐประหาร 101 ชวนสำรวจหลาก ‘นิยาม’ การเมืองการปกครองภายใต้รัฐบาลประยุทธ์ ผ่าน 6 คำอธิบายจาก 6 นักวิชาการในเกือบรอบทศวรรษที่ผ่านมา

กองบรรณาธิการ

22 May 2022

Thai Politics

28 Jul 2021

ความตกต่ำของภาพลักษณ์ของทหาร

วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ เขียนถึงภาพลักษณ์ของกองทัพไทยที่ตกต่ำลงเรื่อยๆ นับตั้งแต่รัฐประหารปี 2557 ด้วยเรื่องอื้อฉาวที่มีมาต่อเนื่อง

วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์

28 Jul 2021

Politics

8 Jul 2021

“วันที่รู้ว่าโดน 112 เหมือนโลกถล่มแผ่นดินทลาย” ณัฏฐิกา วรธันยวิชญ์ กับชีวิตผู้ลี้ภัยในต่างแดน

วจนา วรรลยางกูร คุยกับณัฏฐิกา วรธันยวิชญ์ ผู้ลี้ภัยไทยในอเมริกา ถึงชีวิตของเธออันเป็นภาพสะท้อนผลพวงจากการรัฐประหาร 2557 ที่ทำลายชีวิตผู้คนจำนวนมากต่อเนื่องมาถึงปัจจุบัน

วจนา วรรลยางกูร

8 Jul 2021

Happy Family

22 Oct 2020

Exclusive ‘หนูหริ่ง-ลำธาร’: ฟังพ่อลูกคุยกัน ในวันที่การเมืองมาเคาะประตูบ้าน

‘ครอบครัว’ จะเผชิญหน้ากับการเมืองและรับมือกับความเปลี่ยนแปลงอย่างไร ทั้งหนูหริ่งและลำธารเป็นหนึ่งในผู้มีประสบการณ์ ควรค่าแก่การไถ่ถามและรับฟัง

ธิติ มีแต้ม

22 Oct 2020

Thai Politics

21 May 2020

บนถนนสายตาสว่าง: กรพินธุ์ พัวพันสวัสดิ์

ภาวะตาสว่างทางการเมืองของคนเสื้อแดงในทศวรรษที่ผ่านมาเป็นแบบไหน ท่ามกลางความสูญเสีย มวลชนเรียนรู้และปรับตัวอย่างไร อ่านทัศนะจาก ‘กรพินธุ์ พัวพันสวัสดิ์’

ธิติ มีแต้ม

21 May 2020

Thai Politics

5 Feb 2020

สนทนาบนลานยิ้มกับ ‘นลธวัช มะชัย’ ผู้หันหลังให้ทุนปริญญา-หันหน้าสู่ละครชีวิต

คุยกับ ‘กอล์ฟ’ นลธวัช มะชัย หนึ่งในผู้ก่อตั้งกลุ่มลานยิ้มการละคร นักเรียนทุนผู้หันหลังให้ระบบการศึกษาในรั้วมหา’ลัย

ธิติ มีแต้ม

5 Feb 2020

Law

13 Nov 2019

ทำไมอาจารย์กฎหมายจึง ‘อยู่เป็น’ ภายใต้อำนาจรัฐประหาร

สมชาย ปรีชาศิลปกุล ตอบคำถามว่าอะไรเป็นเหตุผลที่ทำให้เกิดปรากฏการณ์อาจารย์กฎหมาย ‘อยู่เป็น’ โดยไม่มีการแสดงออกเพื่อปกป้องหลักการทางกฎหมายที่พร่ำสอนต่อลูกศิษย์

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

13 Nov 2019

Thai Politics

29 Oct 2019

คนเหล็ก 2019

ธิติ มีแต้ม เล่าให้ลูกฟังในคอลัมน์ ‘เมื่อเวลามาถึง’ ถึงหนังสือ 1 เล่ม และเพลง 1 อัลบั้ม ที่เป็นบันทึกแห่งยุคสมัยและเป็นบันทึกประวัติศาสตร์ของคนหัวใจแกร่ง

ธิติ มีแต้ม

29 Oct 2019

Thai Politics

6 Aug 2019

ชีวิตใหม่ของคนนอกขนบ ‘อั้ม เนโกะ’ และเส้นทางต่อสู้เพื่อสิทธิ LGBT

วจนา วรรลยางกูร พูดคุยกับ อั้ม เนโกะ ผู้ลี้ภัยการเมืองไทยและนักเคลื่อนไหวเพื่อสิทธิ LGBT ในฝรั่งเศส ถึงชีวิตใหม่หลังเดินทางออกจากประเทศไทย และการทำงานเพื่อผู้อพยพที่มีความหลากหลายทางเพศ

วจนา วรรลยางกูร

6 Aug 2019

Videos

3 Jul 2019

SIDE B อีกเสียงจากที่เขาบอกว่า… “ชาวบ้านรุกป่า”

ทำไมชาวบ้านถึงติดคุกจาก “นโยบายทวงคืนผืนป่า” ของรัฐบาล คสช. ผลกระทบดังกล่าวสะท้อนการจัดการทรัพยากรป่าไม้ของรัฐไทยอย่างไร

ธิติ มีแต้ม

3 Jul 2019
1 2

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save