fbpx

Thai Politics

7 Aug 2023

จับมือแปดพรรค VS รัฐบาลข้ามขั้ว : ประชาธิปไตยจะไปต่ออย่างไรในกติกาเผด็จการ กับ จาตุรนต์ ฉายแสง

101 ชวน จาตุรนต์ ฉายแสง ร่วมวิเคราะห์การเมืองไทยถึงความเป็นไปได้ของรัฐบาลประชาธิปไตยในการช่วยกันปลดล็อกรัฐธรรมนูญ 2560 รวมถึงเส้นทางที่ฝ่ายประชาธิปไตยไม่ควรมองข้าม

เจียระไน ซองทอง

7 Aug 2023

ASEAN บ่มีไกด์ x กฤษฎ์เลิศ "Journey to ASEAN Econ"

31 Aug 2022

ASEAN บ่มีไกด์ x กฤษฎ์เลิศ EP.11 – ถอดบทเรียนอินโดนีเซีย: เผด็จการดีหรือไม่ดีต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ?

ASEAN บ่มีไกด์ x กฤษฎ์เลิศ ถอดบทเรียนอินโดนีเซียในยุคเผด็จการซูฮาร์โต หาคำตอบว่าเผด็จการดีหรือไม่ดีต่อการพ

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา

31 Aug 2022

Curious Economist

1 May 2022

รู้จัก ‘เผด็จการนักปลุกปั่น’ การปรับตัวของท่านผู้นำในยุคอินเทอร์เน็ต

รพีพัฒน์ อิงคสิทธิ์ ชวนดูเทรนด์ผู้นำเผด็จการในศตวรรษที่ 21 ที่เปลี่ยนวิธีกระชับอำนาจจากการใช้กำลัง สู่การปลุกปั่นด้วยการใช้ข้อมูลข่าวสาร

รพีพัฒน์ อิงคสิทธิ์

1 May 2022

Videos

13 Jan 2020

SIDE B อีกเสียงจากที่เขาบอกว่า “ลุงอยากอยู่ยาว”

เป็นครั้งแรกหลังเลือกตั้ง 62 ที่ประชาชนในหลายจังหวัด ออกมาทำกิจกรรม “วิ่งไล่ลุง” เพราะไม่พอใจรัฐบาล ติดตามในสารคดีข่าวสั้น SIDE B อีกเสียงจากที่เขาบอกว่า… “ลุงอยากอยู่ยาว” 

ธิติ มีแต้ม

13 Jan 2020

World

7 May 2019

การเปลี่ยนผ่านไปสู่ระบอบประชาธิปไตยในลาตินอเมริกา

เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์ เขียนถึงการเปลี่ยนผ่านไปสู่ระบอบประชาธิปไตยในลาตินอเมริกา ระหว่างที่ผลการเลือกตั้งไทยยังไม่ชัดเจน เพื่อบอกตัวเองว่า “อย่าได้หมดหวังกับระบอบประชาธิปไตย”

เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์

7 May 2019

Thai Politics

10 Jan 2019

ห้องเรียนนิติศาสตร์เพื่อราษฎร คาบที่ 3 : “ยุทธศาสตร์คือเรียกร้องศาลให้ต่อต้านรัฐประหารเชิงรับ”

ห้องเรียนนิติศาสตร์เพื่อราษฎร คาบที่สาม วรเจตน์ ภาคีรัตน์ วิพากษ์เนติบริกรและตุลาการภิวัตน์ในฐานะเครื่องมือของระบบรัฐประหาร

ปกป้อง จันวิทย์

10 Jan 2019

Thai Politics

10 Jan 2019

ห้องเรียนนิติศาสตร์เพื่อราษฎร คาบที่ 2 : “ถึงเวลาหาคำใหม่ ใช้แทน ‘รัฐธรรมนูญ’ ”

วรเจตน์ ภาคีรัตน์ เปิดห้องเรียนนิติศาสตร์เพื่อราษฎร คาบที่สอง สนทนาเรื่องอนาคตการเมืองไทยและสัญญาประชาคมใหม่

ปกป้อง จันวิทย์

10 Jan 2019

Thai Politics

9 Jan 2019

ห้องเรียนนิติศาสตร์เพื่อราษฎร คาบที่ 1 : “รัฐประหารเป็นเพียงระบบย่อยภายใต้ระบอบใหญ่ที่ตั้งชื่อไม่ได้”

101 ชวน วรเจตน์ ภาคีรัตน์ เปิดห้องเรียนนิติศาสตร์เพื่อราษฎร สนทนาเรื่องอนาคตการเมืองไทย เริ่มคาบแรกด้วยมุมมองใหม่ในการเข้าใจการเมืองไทย – ระบบรัฐประหารในระบอบที่ตั้งชื่อไม่ได้

ปกป้อง จันวิทย์

9 Jan 2019

Interviews

16 Aug 2018

อนุสรณ์ อุณโณ : จากพี่ว้ากสู่คณบดีไล่เผด็จการ และคำถามในพานพุ่ม

เจาะลึกชีวิตคณบดีผู้ออกมาไล่เผด็จการจนถูกดำเนินคดี ตั้งแต่นักเรียนขาสั้นถึงวัยหนุ่มฉกรรจ์ ก่อนหันหน้าเข้าหาโลกมานุษยวิทยา และการตั้งคำถามว่าอำนาจอธิปไตยไทยเป็นของใคร

ธิติ มีแต้ม

16 Aug 2018

Thai Politics

2 Apr 2018

รัฐประหารครั้งแรก 1 เมษายน 2476 เผด็จการยุคแรกแบบ ‘Monocracy’

ธำรงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์ เขียนถึง ‘มโนเครซี่’ รัฐประหารครั้งแรก 1 เมษายน 2476 และมรดกที่ถูกทิ้งไว้ให้กับคนรุ่นหลัง

ธำรงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์

2 Apr 2018

Life & Culture

20 Feb 2018

มนุษย์ เผด็จการ บนโลกที่พลิกผัน

จากนวนิยายเรื่อง An Artist of the Floating World ของคาซูโอะ อิชิกูโระ นักเขียนรางวัลโนเบลคนล่าสุด ถึงแนวคิด “มวลชน” ของ Hannah Arendt ธร ปีติดล พยายามคลี่หาคำตอบว่าทำไมระบอบที่โหดร้ายและกดขี่ข่มเหงเพื่อนมนุษย์อย่างนาซีในเยอรมนีและฟาสซิสต์ในอิตาลี ถึงได้มีผู้คนสนับสนุนมากมาย

ธร ปีติดล

20 Feb 2018

World

6 Dec 2017

นาซีศึกษา : อ่านอดีต เพื่อเข้าใจปัจจุบัน กับ ตุลย์ อิศรางกูร ณ อยุธยา

ตุลย์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดห้องเรียนนาซีศึกษา สนทนากับ อันโตนีโอ โฉมชา เรื่อง “โฮโลคอสต์” (holocaust) หรือการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ชาวยิว และบทเรียนสำหรับสังคมไทย

กองบรรณาธิการ

6 Dec 2017

Political Economy

3 Oct 2017

ระบอบอำนาจนิยมพัฒนาประเทศได้ดีกว่าระบอบประชาธิปไตยจริงหรือ?

พลอย ธรรมาภิรานนท์ ตอบคำถาม ระบอบอำนาจนิยมพัฒนาประเทศได้ดีกว่าระบอบประชาธิปไตยจริงหรือ

พลอย ธรรมาภิรานนท์

3 Oct 2017

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save