fbpx

Life & Culture

14 Jan 2022

101 Side-Seeing Ep.4 เดินกับสถาปนิก ชมสวนเบญจกิติ-คลองช่องนนทรี พื้นที่สาธารณะใหม่กรุงเทพฯ

101 Side-Seeing ชวน ผศ.ดร.รชพร ชูช่วย ร่วมเดินชมสวนเบญจกิติ-คลองช่องนนทรี ชี้ข้อเด่น-ข้อด้อย เม้ามอยตามสไตล์สถาปนิก และพูดถึงแนวคิดพื้นที่สาธารณะอย่างที่ควรจะเป็น

กองบรรณาธิการ

14 Jan 2022

Life & Culture

23 Apr 2021

ที่อยู่อาศัยที่เท่าเทียมคือทางรอด

คอลัมน์ Shaped by Architecture เดือนนี้ รชพร ชูช่วย เขียนถึงสิทธิในการมีอยู่ที่อาศัยที่เท่าเทียมของคนทุกกลุ่ม ซึ่งหมายถึงการมีที่อยู่ที่ได้มาตรฐาน ถูกสุขอนามัย และไม่แออัด

รชพร ชูช่วย

23 Apr 2021

shaped by architecture

11 Jan 2021

รัฐสภาไทยที่ไม่มีประชาชน

คอลัมน์ Shaped by Architecture เดือนนี้ รชพร ชูช่วย เขียนถึงแนวคิดการออกแบบสัปปายะสภาสถาน และตั้งคำถามกับพื้นที่เพื่อประกอบ ‘ความดี’ แห่งนี้ ว่าใช้ได้จริงแค่ไหนในระบอบประชาธิปไตย

รชพร ชูช่วย

11 Jan 2021

Spotlights

28 Oct 2020

เมื่อถนนสร้าง ‘ประชาชน’

คอลัมน์ Shaped by Architecture เดือนนี้ รชพร ชูช่วย เขียนถึงพื้นที่ท้องถนน ที่สะท้อนการมีส่วนร่วมของผู้คนในสังคมประชาธิปไตย ถนนสำคัญต่อการเรียกร้องทางการเมืองอย่างไร และเพิ่มพลังให้คนได้อย่างไร

รชพร ชูช่วย

28 Oct 2020

Life & Culture

25 Aug 2020

ที่อยู่ที่ ‘อาศัย’ ไม่ได้

คอลัมน์ Shaped by Architecture เดือนนี้ รชพร ชูช่วย ชวนมองปรากฏการณ์ ‘คอนโด’ ที่สะท้อนปัญหาใต้ภูเขาน้ำแข็งของธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ และปัญหาการพัฒนาเมือง

รชพร ชูช่วย

25 Aug 2020

Life & Culture

21 Jul 2020

เพราะสถาปัตยกรรมคือภาระและภาษี

คอลัมน์ Shaped by Architecture เดือนนี้ รชพร ชูช่วย เขียนถึงต้นทุนการดูแลรักษาอาคารขนาดใหญ่ของรัฐ ที่เชื่อมโยงกับค่าใช้จ่ายของลูกหลานในอนาคต

รชพร ชูช่วย

21 Jul 2020

City

22 Jun 2020

เมื่อเราต้องอยู่อาศัยในสองโลก

คอลัมน์ Shaped by Architecture เดือนนี้ รชพร ชูช่วย เขียนถึงการใช้ชีวิตในสองโลก ระหว่าง ‘ออนไลน์’ และ ‘ออฟไลน์’ ในช่วงการระบาดของโควิด ที่อาจจะเป็นจุดเปลี่ยนครั้งใหญ่ในการทำงานและการเรียนการสอน

รชพร ชูช่วย

22 Jun 2020

Talk Programmes

28 May 2020

101 One-on-One Ep.147 : เมื่อเส้นแบ่งบ้านเรือนเลือนราง : มองที่อยู่อาศัยหลังโควิด-19 กับ รชพร ชูช่วย

หลังจากเกิดวิกฤตโควิด-19 รูปแบบการอยู่อาศัยของผู้คนจะเปลี่ยนไปอย่างไร 101 ชวน รชพร ชูช่วย อาจารย์ประจำคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มาร่วมคิดในประเด็นเหล่านี้

101 One-on-One

28 May 2020

City

11 May 2020

เมื่ออาคารยุคใหม่ไม่ ‘ปรับอากาศ’ เอง : ทำอย่างไรให้เกิด ‘สภาวะน่าสบาย’ โดยไม่เปิดแอร์

คอลัมน์ Shaped by Architecture เดือนนี้ รชพร ชูช่วย เขียนถึงอาคารสมัยใหม่ที่ใช้ ‘เครื่องปรับอากาศ’ ในการ ‘ปรับอากาศ’ โดยไม่ได้มีระบบหมุนเวียนอากาศตามธรรมชาติ ซึ่งก่อให้เกิดปัญหาต่อผู้อยู่อาศัย

รชพร ชูช่วย

11 May 2020

City

10 Apr 2020

เมื่อวิกฤตร่างกายเรียกร้องที่เว้นว่าง ให้ห่างห่างจากกันและกัน

คอลัมน์ Shaped by Architecture เดือนนี้ รชพร ชูช่วย เขียนถึงการใช้พื้นที่ที่เปลี่ยนไปหลังเกิดการระบาดของโควิด-19 เมื่อทุกคนต้องห่างกัน แล้วสถาปัตยกรรมต้องปรับตัวอย่างไร

รชพร ชูช่วย

10 Apr 2020

City

27 Feb 2020

เพราะมีห้องน้ำมากมายจึงโดดเดี่ยว 

คอลัมน์ Shaped by Architecture เดือนนี้ รชพร ชูช่วย เขียนถึง ‘ความเป็นส่วนตัว’ ที่เกิดขึ้นจากสถาปัตยกรรม ในยุคที่ผู้คนมีกำลังจับจ่ายสินค้าและบริการมากขึ้น ความส่วนตัวที่ว่านี้มีข้อดีข้อเสียอย่างไร

รชพร ชูช่วย

27 Feb 2020

City

31 Jan 2020

สถาปัตยกรรมที่นับรวม : เมื่อมนุษย์ทุกคนต้องการที่กินข้าว

คอลัมน์ Shaped by Architecture ตอนแรกของ รชพร ชูช่วย ว่าด้วย ‘สถาปัตยกรรมที่นับรวม’ ตั้งคำถามกับอาคารที่ไม่มีพื้นที่ให้แม่บ้านทานข้าว หรือที่นั่งพักให้พนักงาน สถาปัตยกรรมจะเข้ามาช่วยตรงนี้ได้อย่างไร

รชพร ชูช่วย

31 Jan 2020

Happy Family

10 Jul 2019

อำนาจของสถาปัตยกรรมต่อ ‘คน’ และ ‘เมือง’ : ผศ.ดร.รชพร ชูช่วย

สัมภาษณ์ ผศ.ดร. รชพร ชูช่วย ว่าด้วยออฟฟิศในโลกยุคใหม่ วันหยุดกับวิถีคนเมือง หน้าตาของอาคารในโลกเมื่อ 20 ปีที่แล้วต่างจากตอนนี้อย่างไร พื้นที่สาธารณะหมายถึงอะไร อาคารส่งผลต่อวิถีชีวิตผู้คนอย่างไร และสถาปัตยกรรมที่เราเห็นสะท้อนภาพสังคมแบบใดบ้าง หนึ่งในตอนของ Spotlight ‘บางคอก’

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

10 Jul 2019

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save