fbpx

Education

22 Apr 2024

อาจารย์มหาวิทยาลัยจะสอนอย่างไร เมื่อ ChatGPT บุกห้องเรียน: ตัวอย่างการปรับตัวอย่างสร้างสรรค์

อาจารย์มหาวิทยาลัยจะปรับตัวอย่างไรที่จะใช้ ChatGPT ในการเรียนการสอนอย่างสร้างสรรค์ เมื่อหลายเรื่องที่ฝึกฝนผู้เรียนอยู่ตอนนี้สามารถใช้โมเดลให้ทำได้ในพริบตา

ตะวัน มานะกุล

22 Apr 2024

Science & Innovation

7 Apr 2024

อ่อนแอก็สูญพันธุ์! มหาวิทยาลัยกับการปรับตัวอย่างสร้างสรรค์ต่อ ChatGPT

ตะวัน มานะกุล ชวนคิดถึงแนวทางการรับมือ ChatGPT ในโลกการศึกษา หากมหาวิทยาลัยเลือกที่จะมีบทบาทนำและออกนโยบายในการปรับตัว

ตะวัน มานะกุล

7 Apr 2024

Science & Innovation

25 Mar 2024

‘เครื่องคิดเลข’ – ‘ChatGPT’ และการปรับตัวอย่างสร้างสรรค์

ตะวัน มานะกุล ชวนย้อนดูความตระหนกเมื่อนักเรียนอเมริกาเข้าถึง ‘เครื่องคิดเลข’ จนนำไปสู่การออกแบบหลักสูตรคณิตศาสตร์ใหม่ อันเป็นตัวอย่างการรับมือเทคโนโลยีเมื่อสังคมกำลังเผชิญ ChatGPT

ตะวัน มานะกุล

25 Mar 2024

Science & Innovation

11 Mar 2024

มหาวิทยาลัยชั้นนำกับยุทธศาสตร์รับมือ ChatGPT ด้วยการกระจายอำนาจ: ตอบโจทย์ แต่ยังไม่พอ

ตะวัน มานะกุล ชวนมองแนวทางที่มหาวิทยาลัยแนะนำคณาจารย์ให้นำไปใช้จัดการกับการที่นักศึกษาใช้ ChatGPT ในชั้นเรียน โดยต้องมีการปรับตัวเป็นรายวิชา

ตะวัน มานะกุล

11 Mar 2024

Science & Innovation

18 Feb 2024

ChatGPT ทำอะไรได้บ้างและมีจุดอ่อนตรงไหน?: สิ่งที่ต้องรู้ก่อนปรับตัวรับมือ

ตะวัน มานะกุล ชวนทำความเข้าใจลักษณะการทำงาน ความสามารถ และจุดอ่อนของ ChatGPT อันเป็นเรื่องสำคัญต่อการเรียนรู้เพื่อรับมือ

ตะวัน มานะกุล

18 Feb 2024

Education

23 Jan 2024

นี่คือตำแหน่งศาสตราจารย์หรือรางวัลโนเบล: 100 เดือนแล้วนะจะบอกให้

สมชาย ปรีชาศิลปกุล เล่าประสบการณ์การขอตำแหน่งทางวิชาการของเขาที่กินเวลายาวนานที่สุดในประเทศและยังไม่มีจุดสิ้นสุด จนชวนตั้งคำถามถึงความผิดปกติของระบบ

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

23 Jan 2024

Education

16 Jan 2024

มหาวิทยาลัยมีไว้ทำไม? เมื่อ ChatGPT และ AI ทำให้เราเรียนจบได้เหมือนกัน

ตะวัน มานะกุล ชวนคิดถึงการรับมือ ChatGPT ในโลกวิชาการ เมื่อนักศึกษามหาวิทยาลัยใช้เอไอเขียนรายงานหรือข้อสอบส่งได้อย่างง่ายดาย

ตะวัน มานะกุล

16 Jan 2024

Life & Culture

10 Jan 2024

นงเยาว์ ชัยเสรี สตรีผู้พลิกโฉมธรรมศาสตร์

กษิดิศ อนันทนาธร รำลึกถึงชีวิตและผลงานของ ‘นงเยาว์ ชัยเสรี’ อดีตอธิการบดีหญิง ผู้มีคุณูปการต่อมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

กษิดิศ อนันทนาธร

10 Jan 2024

Education

8 Aug 2023

ไม่มีเสรีภาพทางวิชาการในมหาวิทยาลัยชายขอบ

สมชาย ปรีชาศิลปกุล ชวนมองการคุกคามเสรีภาพในทางวิชาการ โดยเฉพาะในเรื่องที่กระทบกับความมั่นคงของอำนาจนำทางการเมือง

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

8 Aug 2023

Education

20 Jul 2023

คณะอักษรศาสตร์ จุฬาฯ ในวิกฤต (?)

ข่าวการปรับหลักสูตรของอักษรศาสตร์ จุฬาฯ ชวนให้คิดถึงอนาคตของการเรียนการสอนสายมนุษยศาสตร์ เมื่อตลาดแรงงานเรียกร้องทักษะสำหรับการทำงานจริง จนมีการลดความสำคัญวิชาพื้นฐานอันเป็นการฝึกฝนการวิเคราะห์วิพากษ์เพื่อทำความเข้าใจโลกอันซับซ้อน

เสียงเล็กๆ จากประชาคมอักษร

20 Jul 2023

Politics

11 Jan 2023

ช่องโหว่ของกฎหมายอาญาไทย กรณีการซื้อผลงานทางวิชาการ

ดิศรณ์ ลิขิตวิทยาวุฒิ วิเคราะห์กรณีการซื้อผลงานทางวิชาการว่าอาจไม่สามารถเอาผิดตามกฎหมายอาญาได้ เนื่องจากช่องโหว่ของกฎหมายไทย

ดิศรณ์ ลิขิตวิทยาวุฒิ

11 Jan 2023

Social Issues

11 Jan 2023

เราจะทำอย่างไรให้อาจารย์มหาวิทยาลัยไม่ต้องขายวิญญาณ

เข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง ชวนสนทนาต่อจากบทความ ‘คู่มือขายวิญญาณ’ ของสมชาย ปรีชาศิลปกุล ที่ชี้ให้เห็นปัญหาของระบบการขอตำแหน่งวิชาการ

เข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง

11 Jan 2023

Social Issues

8 Jan 2023

แรงงาน ยศช้าง และขุนนางวิชาการ: กระบวนการทำให้เป็นราชการในบรรษัทมหา’ลัย

สืบเนื่องจากบทความเรื่องการขอตำแหน่งวิชาการของสมชาย ปรีชาศิลปกุล แล้ว ภิญญพันธุ์เขียนบทความสืบเนื่องกัน ว่าด้วยระเบียบวิธีการในมหาวิทยาลัยทั้งประเด็นเรื่องรูปแบบองค์กร การจ้างงาน ไปจนถึงวิธีคิดเรื่องตรวจงานวิชาการ ที่สะท้อนความเทอะทะของระบบราชการได้เป็นอย่างดี

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

8 Jan 2023

Social Issues

5 Jan 2023

คู่มือ ‘ขายวิญญาณ’ เพื่อตำแหน่งวิชาการในมหาวิทยาลัย

สมชาย ปรีชาศิลปกุล เขียนถึง 4 ประเด็นที่พึงตระหนักของผู้ขอตำแหน่งวิชาการ จากประสบการณ์มากกว่าทศวรรษในกระบวนการขอตำแหน่งทางวิชาการในสถาบันการศึกษา

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

5 Jan 2023

World

24 Nov 2022

งานวิจัยจีนมีคุณภาพจริงหรือ? : มองสังคมการเมืองจีนผ่านโลกงานวิชาการ

101 ชวนอ่านงานวิจัยของ Daron Acemoglu, Jie Zhou และ David Yang เข้าไปศึกษาระบบโครงสร้างอำนาจแบบจีน มันส่งผลอย่างไรกับทิศทางและคุณภาพงานวิจัย

ศุภวิชญ์ ศิริสวัสดิ์วัฒนา

24 Nov 2022
1 2 3

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save