fbpx

World

5 Mar 2024

ญี่ปุ่นกับเงินซุกมุ้งใน LDP ที่กำลังเป็นกรณีอื้อฉาวใหม่ทางการเมือง

ธีวินท์ สุพุทธิกุล เขียนถึงกรณี ‘เงินซุกมุ้ง’ ที่เป็นเรื่องอื้อฉาวระลอกใหม่ของพรรค LDP เพื่อเปิดไปสู่ ‘การเมืองเรื่องมุ้ง’ ในภาพใหญ่ ว่ามีความเป็นมาอย่างไรและมีบทบาทหน้าที่อะไรถึงได้กลายเป็นแบบแผนและสถาบันภายในพรรค LDP เรื่อยมา

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

5 Mar 2024

World

29 Sep 2023

เบื้องลึกนายฟุมิโอะ คิชิดะ ปรับคณะรัฐมนตรีครั้งที่สอง                                              

สุภา ปัทมานันท์ เขียนถึงการปรับคณะรัฐมนตรีครั้งที่สองของรัฐบาลคิชิดะ ที่สะท้อนวิถีการรักษาอำนาจในการเมืองญี่ปุ่น

สุภา ปัทมานันท์

29 Sep 2023

World

16 Aug 2022

การปรับคณะรัฐมนตรีของญี่ปุ่น: นัยทางการเมืองหลังการลอบสังหารอาเบะ

อ่านเกมการเมืองญี่ปุ่นผ่านการปรับคณะรัฐมนตรีของญี่ปุ่นเมื่อ 10 สิงหาคม 2565 ที่มีหลายเรื่องซ้อนกันอยู่ ทั้งการเมืองหลังการลอบสังหารอาเบะ และการขับเคลื่อนนโยบายเพื่อแก้วิกฤตหลายด้านที่ญี่ปุ่นกำลังเผชิญ

สุภา ปัทมานันท์

16 Aug 2022

World

29 Jul 2022

เมื่อญี่ปุ่นนำเศรษฐกิจมาขบคิดคู่ความมั่นคง: Economic Security ในยุทธศาสตร์รัฐบาลคิชิดะ

ธีวินท์ สุพุทธิกุล เขียนถึง ยุทธศาสตร์ ‘ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ’ ภายใต้รัฐบาลคิชิดะ ที่อาจหันญี่ปุ่นไปสู่เส้นทางที่การทหารกลายเป็นหลักใหญ่ของความมั่นคงมากขึ้นกว่าในอดีต

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

29 Jul 2022

World

15 Jul 2022

ผลการเลือกตั้งวุฒิสมาชิกญี่ปุ่นและความเชื่อมั่นต่อรัฐบาล

สุภา ปัทมานันท์ เขียนถึงผลการเลือกตั้งวุฒิสมาชิกญี่ปุ่นในวันที่ 10 กรกฎาคม 2565 โดยนายฟุมิโอะ คิชิดะ นายกรัฐมนตรี หัวหน้าพรรคแอลดีพี สามารถนำพรรคคว้าชัยชนะได้เสียงเกินกึ่งหนึ่ง

สุภา ปัทมานันท์

15 Jul 2022

World

13 Jul 2022

สิ้นอาเบะ สะเทือนญี่ปุ่น?: ญี่ปุ่นหลังการลอบสังหารอดีตนายกฯ อาเบะ

การลอบสังหารผู้นำทางการเมืองมีเหตุจากอะไร? เกิดจากแรงจูงใจทางการเมืองหรือความไม่พอใจส่วนตัว? อะไรคือความท้าทายที่รัฐบาลพรรค LDP ภายใต้การนำของคิชิดะต้องเผชิญเมื่อปราศจากอิทธิพลอาเบะ? แนวทางการต่างประเทศสายแข็งแบบอาเบะจะเปลี่ยนไปหรือไม่? 101 ชวนมอง ‘ญี่ปุ่นหลังการลอบสังหารอาเบะ’ ผ่านการวิเคราะห์ของ นภดล ชาติประเสริฐ และกิตติ ประเสริฐสุข สองนักวิชาการผู้เชี่ยวชาญด้านญี่ปุ่นศึกษา

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

13 Jul 2022

World

27 Jun 2022

จับตาการเลือกตั้งวุฒิสมาชิกของญี่ปุ่น

สุภา ปัทมานันท์วิเคราะห์การเลือกตั้งวุฒิสมาชิกของญี่ปุ่นที่กำลังจะมาถึงใน 10 ก.ค. 2565 ซึ่งเป็นตัวชี้วัดความนิยมของรัฐบาลคิชิดะ

สุภา ปัทมานันท์

27 Jun 2022

World

21 Oct 2021

ญี่ปุ่นและนายกฯ คนใหม่ในกระแสลมการเลือกตั้ง

ธีวินท์ สุพุทธิกุล วิเคราะห์เส้นทางที่เต็มไปด้วยเรื่องเหนือความคาดหมายในการก้าวสู่ตำแหน่งหัวหน้าพรรค LDP ซึ่งปูทางให้ ฟุมิโอะ คิชิดะ ขึ้นมากุมบังเหียนรัฐบาล และความเป็นไปได้ของหมากเกมการเมืองหลังการประกาศยุบสภาเลือกตั้งใหม่

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

21 Oct 2021

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save