fbpx

Thai Politics

18 May 2023

ประชาธิปไตยไปทางไหนต่อ? มองฉากทัศน์เลือกตั้งสู่โจทย์อนาคตประเทศไทย

101 ชวนคุณย้อนอ่านฉากทัศน์การเลือกตั้ง และโจทย์สังคม เศรษฐกิจ การเมืองไทยสำหรับรัฐบาลใหม่ในอนาคต โดยรศ.ดร.พวงทอง ภวัครพันธุ์ และ ผศ.ดร.พิชญ์ พงษ์สวัสดิ์

กองบรรณาธิการ

18 May 2023

Politics

6 Jan 2022

เมื่อ The Empire Strikes Back (Again?) มองประเทศดิสโทเปียปี 2565 กับ พิชญ์ พงษ์สวัสดิ์

101 ชวนสนทนาประเด็นการเมือง การเปลี่ยนแปลงและความร้อนแรงต่างๆ ในปี 2564 ที่ผ่านมากับ ผศ.ดร.พิชญ์ พงษ์สวัสดิ์ ผู้เทียบเคียงการเมืองไทยในรอบปี 2564 ว่าไม่ต่างจากแฟรนไชส์ Star Wars ภาค The Empire Strikes Back

พิมพ์ชนก พุกสุข

6 Jan 2022

Social Movement

3 Nov 2021

ถอดบทเรียนความเคลื่อนไหว เข้าใจหลากมิติกลุ่ม ‘เยาวรุ่นทะลุแก๊ส’

ทำไมต้องทะลุแก๊ส? 101 ชวนอ่านข้อค้นพบสำคัญจากรายงาน “การก่อตัว พัฒนาการ และพลวัตการชุมนุมบริเวณแยกดินแดงช่วงเดือนสิงหาคม-ตุลาคม 2564” โดย กนกรัตน์ เลิศชูสกุล และธนาพงศ์ เกิ่งไพบูลย์ พร้อมทั้งต่อยอดจากงานวิจัยด้วยทัศนะและข้ออภิปรายเกี่ยวกับม็อบดินแดง เพื่อหาคำตอบว่าเราจะทำความเข้าใจปรากฏการณ์ ‘ทะลุแก๊ส’ อย่างไร อะไรคือความฝันและแรงผลักดันที่ทำให้พวกเขาออกมาเคลื่อนไหว ทางออกของเรื่องนี้อยู่ตรงไหน อะไรคือประเด็นที่สังคมไทยต้องมาขบคิดร่วมกัน

กองบรรณาธิการ

3 Nov 2021

Politics

20 Oct 2021

101 Public Forum ‘ทำไมต้องทะลุแก๊ส’ เข้าใจหลากมิติม็อบดินแดง

The101.world ร่วมกับภาควิชาปกครอง คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดวงเสวนา ‘ทำไมต้องทะลุแก๊ส’ เพื่อหาคำตอบว่า เราจะทำความเข้าใจปรากฏการณ์ ‘ทะลุแก๊ส’ นี้ได้อย่างไร ใครคือผู้เข้าร่วมหลักของขบวนการ พวกเขาคิดฝันทางการเมืองอย่างไร อะไรคือแรงผลักในการเคลื่อนไหว ทำไมต้องปะทะ ขบวนการเคลื่อนไว้นี้เกี่ยวโยงและส่งผลกับขบวนการประชาธิปไตยภาพใหญ่แค่ไหน และอะไรคือทางออกที่สังคมไทยต้องขบคิดร่วมกัน

กองบรรณาธิการ

20 Oct 2021

Life & Culture

10 Mar 2021

รถไฟฟ้าหลากสี : เมื่อสัญญาสัมปทานอาจศักดิ์สิทธิ์กว่าผลประโยชน์ของประชาชน

101 ชวนเจาะลึกเบื้องหลังราคารถไฟฟ้าผ่านงานเสวนา ‘ค่าโดยสารรถไฟฟ้าหลากสีกับราคาที่ประชาชนต้องแบกรับ’

กองบรรณาธิการ

10 Mar 2021

Democracy

18 Nov 2020

เมื่อม็อบกับชีวิตคนรุ่นใหม่กลายเป็นเรื่องเดียวกัน

101 เก็บความจากงานเสวนา “ม็อบที่ไม่ใช่ม็อบ” รายงานผลสำรวจสถานการณ์การชุมนุมทางการเมืองไทยของคนรุ่นใหม่ในช่วงที่ผ่านมา โดยคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

กองบรรณาธิการ

18 Nov 2020

Politics

31 Jul 2020

โหร หมอดู กับคำพยากรณ์ท่ามกลางการแพร่ระบาดของโควิด-19

พิชญ์ พงษ์สวัสดิ์ และ ขวัญเรือน พันธ์พีระพิชย์ เขียนถึงคำทำนายของโหรและหมอดูในวิกฤตโควิด-19 ที่สะท้อนความเป็นไปทางการเมืองอย่างน่าสนใจ

พิชญ์ พงษ์สวัสดิ์

31 Jul 2020

Thai Politics

30 Jun 2020

84 ปี อภินิหารหมุดคณะราษฎร ในปีที่ 88 ของการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475

พิชญ์ พงษ์สวัสดิ์ ชวนคิดถึงความเป็น ‘ของแท้-ไม่แท้’ ของหมุดคณะราษฎร เมื่อเกิดการแพร่กระจายของวัตถุที่ระลึกและสินค้าที่ถอดแบบจากหมุดจริงมากขึ้นเรื่อยๆ

พิชญ์ พงษ์สวัสดิ์

30 Jun 2020

Trends

14 Jan 2020

มอง ‘ดิจิทัลศึกษา’ ข้ามศาสตร์ : นิเทศศาสตร์ – วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ – รัฐศาสตร์

สรุปเสวนาวิชาการ ‘ดิจิทัลศึกษากับอนาคตสังคมไทย’ เทคโนโลยีดิจิทัลส่งผลกระทบต่อประเด็นการศึกษาและระเบียบวิธีวิจัยในสาขาของตนอย่างไร และองค์ความรู้ที่เรามีอยู่ในเมืองไทยเพียงพอต่อการอธิบายหรือเปล่า

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

14 Jan 2020

Spotlights

31 Jul 2019

อนาคตเมือง เมือง (ไร้) อนาคต กับ พิชญ์ พงษ์สวัสดิ์

อนาคตเมือง เมือง (ไร้) อนาคต คุยเรื่องเมืองอย่างถึงแก่น กับ พิชญ์ พงษ์สวัสดิ์ เพื่อตอบคำถามว่า ภายใต้โครงสร้างและข้อจำกัดของเมืองในประเทศไทย อะไรคือความท้าทายที่แท้จริงกันแน่

กองบรรณาธิการ

31 Jul 2019

Talk Programmes

25 Jul 2019

101 One-on-One Ep.80 “อนาคตเมือง เมือง(ไร้)อนาคต” กับ พิชญ์ พงษ์สวัสดิ์

101 one-on-one Ep.80 “อนาคตเมือง เมือง(ไร้)อนาคต” กับ พิชญ์ พงษ์สวัสดิ์ ปิดท้ายซีรีส์ ‘Bangkok-บางคอก’ ด้วยการคุยเรื่องเมืองอย่างถึงแก่น เพื่อตอบคำถามว่า ภายใต้โครงสร้างและข้อจำกัดของเมืองในประเทศไทย อะไรคือความท้าทายที่แท้จริงกันแน่ 

101 One-on-One

25 Jul 2019

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save