fbpx

Social Issues

23 Feb 2024

เมื่อเส้น ‘ความเป็นสื่อ’ เลือนราง การปกป้องคุ้มครองเสรีภาพและสิทธิการสื่อสารยิ่งสำคัญ

พรรษาสิริ กุหลาบ ชวนขบคิดถึงว่าคำถามเรื่อง ‘ใครเป็นสื่อ’ สำคัญไฉน ในวันที่เทคโนโลยีทำให้คนทุกคนมีสิทธิในการสื่อสาร และทำงานร่วมกับสื่อมวลชนได้

พรรษาสิริ กุหลาบ

23 Feb 2024

Social Issues

9 Jan 2024

เรื่องเงินๆ ทองๆ ของธุรกิจสื่อมวลชน กับความโปร่งใสและความไว้วางใจของสาธารณะ

พรรษาสิริ กุหลาบ เขียนถึงหลักการสร้างความโปร่งใสขององค์กรสื่อมวลชน เพื่อหาจุดกึ่งกลางระหว่างความเป็น ‘ธุรกิจ’ และการทำงานวารสารอย่างมีคุณภาพ

พรรษาสิริ กุหลาบ

9 Jan 2024

101PUB

30 Nov 2023

การกำกับดูแลเนื้อหาสื่อที่ยึด ‘คน’ เป็นหัวใจ: บทเรียนจากต่างประเทศ และ กสทช.

101 PUB ชวนประเมินการกำกับดูแลเนื้อหาสื่อของ กสทช. ที่ผ่านมา และตั้งหลักการกำกับดูแลเนื้อหาสื่อในยุคใหม่ ที่มีหลักสิทธิมนุษยชนเป็นแกนกลาง

พรรษาสิริ กุหลาบ

30 Nov 2023

Social Issues

6 Oct 2021

เมื่อสิทธิขั้นพื้นฐานของประชาชนกลายเป็น ‘อภิสิทธิ์’?

ต้องเป็นสื่อมีสังกัดจึงมีสิทธิ์รายงานข่าว? พรรษาสิริ กุหลาบ เขียนถึงบทบาทและความสำคัญของสื่อพลเมือง รวมถึงเหตุผลที่เราต้องปกป้องสิทธิเสรีภาพการรายงานข่าวของสื่อเหล่านี้

พรรษาสิริ กุหลาบ

6 Oct 2021

Social Issues

24 Aug 2021

เมื่อป้าย ‘Press’ ไม่ใช่เกราะกันกระสุน: การใช้ความรุนแรงต่อสื่อมวลชนคือการใช้ความรุนแรงต่อประชาชน

พรรษาสิริ กุหลาบ เขียนถึงการใช้ความรุนแรงต่อมวลชนและสื่อมวลชนผู้รายงานการประท้วงโดยเจ้าหน้าที่รัฐ และแนวทางปฏิบัติที่ไม่ละเมิดหลักสิทธิมนุษยชน เสรีภาพ

พรรษาสิริ กุหลาบ

24 Aug 2021

Podcast

5 Aug 2021

101 In Focus Ep.91 : ‘เฟกนิวส์- ดิสอินฟอร์เมชัน’ เมื่อการปิดกั้นไม่ใช่ทางออก

101 In Focus สัปดาห์นี้ชวนคุยกันเรื่อง ‘เฟกนิวส์’ และ ‘ดิสอินฟอร์เมชัน’ อะไรคือความหมายของสองคำนี้ และมีวิธีการอย่างไรที่จะจัดการข้อมูลที่บิดเบือน โดยไม่ปิดกั้นเสรีภาพสื่อ ทั้งในวิกฤตโรคระบาดและสถานการณ์ความขัดแย้งในสังคมไทย

กองบรรณาธิการ

5 Aug 2021

Politics

31 May 2021

โควิด-19 ความเหลื่อมล้ำ และสิทธิเสรีภาพในการเข้าถึงข้อมูลสาธารณะ

พรรษาสิริ กุหลาบ เขียนถึงการรายงานของสื่อในยุคโควิด-19 ผ่านกรณีสื่อสหรัฐฯ ที่นอกจากจะทำหน้าที่บอกเล่าสถานการณ์ที่เกิดขึ้นแล้ว ยังสะท้อนให้เห็นปัญหาความเหลื่อมล้ำในสังคมและในระบบสาธารณะสุขด้วย

พรรษาสิริ กุหลาบ

31 May 2021

World

7 Apr 2021

ประจานให้ได้เจ็บ: Doxxing วิธี (ไม่) ใหม่ในการปิดปากผู้เห็นต่าง

พรรษาสิริ กุหลาบ เขียนถึง doxxing (หรือ doxing) การจงใจรวบรวมและเผยแพร่ข้อมูลส่วนตัวของคนหรือกลุ่มคน ซึ่งกลายมาเป็นอาวุธโจมตีผู้เห็นต่างในสนามความขัดแย้ง

พรรษาสิริ กุหลาบ

7 Apr 2021

Politics

22 Mar 2021

เมื่อนักข่าวต้องเผชิญมวลมหาผรุสวาจา (และกิริยา): การใช้ความรุนแรงต่อสื่อที่สนับสนุนโดยรัฐ

จากกรณีนายกรัฐมนตรีฉีดสเปรย์แอลกอฮอลใส่สื่อมวลชน พรรษาสิริ กุหลาบ เขียนถึงปัญหาการใช้ความรุนแรงที่หนุนโดยรัฐต่อนักข่าวที่นำไปสู่การบั่นทอนประชาธิปไตย ผ่านกรณีการโจมตีนักวารสารศาสตร์หญิงชาวฟิลิปปินส์ทางออนไลน์ และมองย้อนมาถึงสิ่งที่เกิดขึ้นในไทย

พรรษาสิริ กุหลาบ

22 Mar 2021

Politics

3 Mar 2021

คำถามถึง “คุณค่า” ของสื่อวารสารศาสตร์ ในวันที่ความรุนแรงถูกเพิกเฉย

พรรษาสิริ กุหลาบ ชวนทบทวนคุณค่าของสื่อวารสารศาสตร์ (อีกครั้ง) ในคืนวันที่รัฐใช้ความรุนแรงต่อผู้ชุมนุม

พรรษาสิริ กุหลาบ

3 Mar 2021

Science & Innovation

28 Jan 2021

ปัญญาประดิษฐ์กับงานวารสารศาสตร์: การประสานงานที่ (ต้องเป็น) มากกว่าการเพิ่มผลผลิต

พรรษาสิริ กุหลาบ เขียนถึงที่ทางของเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ หรือ Artificial Intelligence (AI) กับงานด้านวารสารศาสตร์ ในยุคที่บางคนบอกว่านักข่าวจะตกงาน เพราะเทคโนโลยีจะมาทำงานแทน

พรรษาสิริ กุหลาบ

28 Jan 2021

Thai Politics

12 Jan 2021

เราพูดอะไรได้บ้างในสังคมนี้? : พื้นที่สื่อสารที่ปลอดภัยกับการทำความเข้าใจและคลี่คลายความขัดแย้ง

ในห้วงเวลาที่สังคมตั้งคำถามว่า เราจะ “พูด” อะไรได้บ้างในสังคมที่ขัดแย้งแบ่งขั้วอย่างยืดเยื้อ พรรษาสิริ กุหลาบ เขียนถึง ‘พื้นที่สื่อสาร’ ที่จำเป็นในสถานการณ์ความขัดแย้ง โดยยกตัวอย่างผ่านกระบวนการสันติภาพในชายแดนใต้และไอร์แลนด์เหนือ

พรรษาสิริ กุหลาบ

12 Jan 2021

Thai Politics

20 Oct 2020

เสียงที่ไม่อาจปิดกั้น: กฎหมายไม่ใช่ทางออกในการกำกับดูแลสื่อในความขัดแย้ง

พรรษาสิริ กุหลาบ เขียนถึงการกำกับดูแลสื่อและสิ่งที่รัฐควรทำในสถานการณ์ความขัดแย้ง สถานการณ์ที่ประชาชนต้องการ “ข้อเท็จจริง” ที่พิสูจน์ได้

พรรษาสิริ กุหลาบ

20 Oct 2020

Trends

9 Oct 2020

เมื่อสื่อต้องรายงานเรื่อง “คนโกหก”: บทเรียนจากการเคลื่อนไหวของเครือข่ายทฤษฎีสมคบคิด QAnon

พรรษาสิริ กุหลาบ เขียนถึงบทบาทของสื่อมวลชนที่ต้องตรวจสอบข้อกล่าวอ้างของแหล่งข่าวในสถานการณ์ที่แหล่งข่าวอาจเป็นผู้ให้ข้อมูลเท็จหรือบิดเบือน ผ่านกรณีการออกมาเคลื่อนไหวปกป้องเด็กจากการค้ามนุษย์ที่นำโดย QAnon

พรรษาสิริ กุหลาบ

9 Oct 2020

Thai Politics

1 Sep 2020

ไม่ใช่เพราะแค่ไม่ชอบ: การคว่ำบาตรสื่อที่ไปไกลกว่าเหตุผลทาง “จริยธรรมวิชาชีพ”

พรรษาสิริ กุหลาบ เขียนถึง กระแสการแบนสื่อและคนในวงการสื่อ ที่จะสะท้อนให้เห็นว่าการเรียกร้องต่อ ‘จริยธรรมวิชาชีพ’ ไม่ได้เป็นการคุ้มครองการละเมิดหรือปกป้องสิทธิของคนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งเท่านั้น แต่ยังเชื่อมโยงโดยตรงกับหลักการประชาธิปไตยด้วย

พรรษาสิริ กุหลาบ

1 Sep 2020
1 2

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save