fbpx

101 in focus

12 Apr 2024

101 In Focus EP.223: เปิดใจคนพม่าลี้ภัยเข้าไทย หลังบังคับใช้กฎหมายเกณฑ์ทหาร

101 In Focus สัปดาห์นี้ ชวนเจาะลึกเรื่องชีวิตผู้ลี้ภัยชาวพม่าที่หลบหนีเข้าไทย ว่าต้องเผชิญความยากลำบากอย่างไรจากแนวทางการจัดการเรื่องผู้ลี้ภัยของไทยที่มักถูกตั้งคำถาม เรื่องราวเหล่านี้สะท้อนการกระทำของกองทัพพม่าที่ลิดรอนสิทธิเสรีภาพพลเมืองอย่างไร และไทยควรทำอย่างไรในการเตรียมรับมือสถานการณ์ผู้ลี้ภัยระลอกใหม่ที่กำลังเข้ามา

กองบรรณาธิการ

12 Apr 2024

Asean

1 Apr 2024

“ผมต้องละทิ้งชีวิตทั้งหมดแล้วหนีมา” เปิดใจคนพม่าลี้ภัยเข้าไทย หลังบังคับใช้กฎหมายเกณฑ์ทหาร

101 คุยกับคนพม่าที่ลี้ภัยเข้าไทยหลังจากที่พม่าบังคับใช้กฎหมายเกณฑ์ทหาร และสำรวจสถานการณ์ภาพรวมที่คนพม่าต้องเผชิญภายใต้กฎหมายดังกล่าว

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา

1 Apr 2024

Justice & Human Rights

19 Jul 2023

การกดปราบผู้ลี้ภัยข้ามชาติ: ปัญหาและทางออกใต้เงาพันธมิตรเผด็จการอาเซียน

‘การกดปราบข้ามชาติ’ ปรากฏการณ์ไล่ล่าผู้ลี้ภัยการเมืองที่เกิดขึ้นทั่วโลกและสะท้อนถึงความร่วมมือระหว่างรัฐเผด็จการ โดยเฉพาะ ‘พันธมิตรเผด็จการอาเซียน’ ที่ร่วมมือคุกคามคนเห็นต่างในภูมิภาคตลอดมา 101 PUB ชวนทำความเข้าใจปรากฏการณ์ดังกล่าว พร้อมขบคิดถึงทางออกนโยบายที่รับมือกับการกดปราบและคุ้มครองผู้ลี้ภัย

เจณิตตา จันทวงษา

19 Jul 2023

Life & Culture

18 Jul 2023

ในออสเตรเลีย บรรพบุรุษของเกือบทุกคนต่างเป็นผู้ย้ายถิ่น

สร้อยมาศ รุ่งมณี พาค้นรากของครอบครัวสามีชาวออสเตรเลียที่มีต้นตระกูลเป็นคนจีน แต่ปัจจุบันลูกหลานไม่เหลือเค้าความเป็นคนจีนอีกแล้ว นำไปสู่เรื่องราวของประชากรในออสเตรเลียที่เกือบทุกคนต่างเป็นผู้ย้ายถิ่น

สร้อยมาศ รุ่งมณี

18 Jul 2023

Life & Culture

7 Jun 2023

รอยลบ รอยลับ รอยอาลัย: บ้านพักชนชั้นนำสยามผู้ลี้ภัยในปีนัง

ธนาวิ โชติประดิษฐ ชวนเดินเท้าตามรอย
ย่านที่พักอาศัยของชนชั้นนำสยามผู้ลี้ภัยการเมืองหลังการปฏิวัติ 2475 ในปีนัง

ธนาวิ โชติประดิษฐ

7 Jun 2023

Social Issues

1 Feb 2023

2 ปีรัฐประหารพม่ากับความสิ้นหวังของเด็กผู้ลี้ภัยในไทย

พุทธณี กางกั้น ชวนมองสถานการณ์เด็กผู้ลี้ภัยที่ชายแดนไทย-พม่า ที่ไม่ได้รับการคุ้มครองจากรัฐบาลไทยและยังถูกบังคับให้กลับไปพม่าหลายครั้ง

พุทธณี กางกั้น

1 Feb 2023

Life & Culture

23 Nov 2022

ประวัติศาสตร์ศิลปะที่เขียนจากทางไกล: ‘สาส์นสมเด็จ’ ในปีนัง

ธนาวิ โชติประดิษฐ เขียนถึงการศึกษาประวัติศาสตร์ศิลปะและพื้นที่ผ่านตัวอย่างใน ‘สาส์นสมเด็จ’ หนังสือรวมจดหมายโต้ตอบของกรมพระยาดำรงฯ และเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์

ธนาวิ โชติประดิษฐ

23 Nov 2022

Interviews

6 Nov 2022

จาก ‘เมนู’ สู่ ‘เมลิญณ์’ ในวันที่กรงขังไม่อาจจองจำเธอได้

101 คุยกับ เมลิญณ์-สุพิชฌาย์ ชัยลอม ถึงการคุกคามและดำเนินคดีโดยรัฐจนทำให้เธอและเพื่อนต้องตัดสินใจลี้ภัยทางการเมืองในวัย 20 ปี

ศุภวิชญ์ ศิริสวัสดิ์วัฒนา

6 Nov 2022

Media

4 Nov 2022

จาก ‘เมนู’ สู่ ‘เมลิญณ์’ เมื่อถูกรัฐคุกคาม เยาวชนจึงลี้ภัย

เมลิญณ์ หรือชื่อเดิมคือ ‘เมนู-สุพิชฌาย์ ชัยลอม’ เยาวชนนักเคลื่อนไหวการเมือง จำต้องลี้ภัยออกนอกประเทศ หลังถูกคุกคามอย่างหนัก

ศุภวิชญ์ ศิริสวัสดิ์วัฒนา

4 Nov 2022

Interviews

22 Aug 2022

วนะ วรรลยางกูร และการ ‘แทงสวน’ ประวัติศาสตร์ของชนชั้นนำ

สนทนากับ วนะ วรรลยางกูร ศิลปินผู้สะบัดฝีแปรงเล่าเรื่องการ ‘แทงสวน’ ประวัติศาสตร์กระแสหลักในไทย และสังคมที่ถูกโฆษณาชวนเชื่อมอมเมาจนเราเฉยชากับการที่มีคนตายกลางเมือง ผ่านน้ำเสียงขึ้งเครียดและกราดเกรี้ยว

พิมพ์ชนก พุกสุข

22 Aug 2022

Bite-Sized Clip

11 May 2022

‘ความจริงต้องห้าม’ ในคดีค้ามนุษย์

จากปี 2558 ที่มีการเจอหลุมศพและค่ายกักกันชาวโรฮิงญาที่สงขลา นำไปสู่การสืบสวนคดีค้ามนุษย์อันสะท้อนภาพความโหดร้ายที่มนุษย์กระทำต่อกัน ท่ามกลางผลประโยชน์มหาศาลที่ได้จากการค้าขายชีวิตมนุษย์ ปรากฏชื่อทหารระดับสูงของกองทัพเป็นผู้รับเงิน

เมธิชัย เตียวนะ

11 May 2022

Politics

10 May 2022

ปวีณ พงศ์สิรินทร์: รางวัลของคนทำงานคือการลี้ภัย

101 คุยกับ พล.ต.ต.ปวีณ พงศ์สิรินทร์ ถึงสิ่งที่เขาเจอจากการทำคดีค้ามนุษย์โรฮิงญา อันเป็นเหตุให้เขาต้องจบชีวิตตำรวจและกลายมาเป็นผู้ลี้ภัยในออสเตรเลีย

วจนา วรรลยางกูร

10 May 2022

World

28 Mar 2022

Crisis beyond Ukraine: มองวิกฤตมนุษยธรรม-กฎหมายระหว่างประเทศ-ความมั่นคง ผ่านสงครามรัสเซีย-ยูเครน

101 ชวนถอดรหัส ‘วิกฤต’ ที่ไกลกว่าวิกฤตความขัดแย้งรัสเซีย-ยูเครน ทำไมกลไกกฎหมายระหว่างประเทศที่ควรจะรักษาสันติภาพโลกเอาไว้จึงล้มเหลว? การเมืองมหาอำนาจจะเดินหน้าไปทางไหนต่อ? และที่สำคัญที่สุดยิ่งกว่าสิ่งอื่นใด ‘มนุษย์’ อยู่ตรงไหนในสมการความขัดแย้งครั้งนี้?

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

28 Mar 2022

Politics

14 Mar 2022

Quasi-citizen: สถานะกึ่งพลเมืองยามโลกดาลเดือด

แนวคิดสถานะ ‘กึ่งพลเมือง’ ถูกเสนอขึ้นเพื่อรับมือการเผชิญหน้ากับผู้อพยพแบบไม่หวนกลับ เมื่อผู้ที่อพยพไปยังดินแดนใหม่จำเป็นต้องเข้าถึงสิทธิพื้นฐานที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

14 Mar 2022

Politics

8 Jul 2021

“วันที่รู้ว่าโดน 112 เหมือนโลกถล่มแผ่นดินทลาย” ณัฏฐิกา วรธันยวิชญ์ กับชีวิตผู้ลี้ภัยในต่างแดน

วจนา วรรลยางกูร คุยกับณัฏฐิกา วรธันยวิชญ์ ผู้ลี้ภัยไทยในอเมริกา ถึงชีวิตของเธออันเป็นภาพสะท้อนผลพวงจากการรัฐประหาร 2557 ที่ทำลายชีวิตผู้คนจำนวนมากต่อเนื่องมาถึงปัจจุบัน

วจนา วรรลยางกูร

8 Jul 2021
1 2 3

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save