fbpx

Politics

31 Mar 2023

กฎหมายไม่ใช่ความยุติธรรมเสมอไป: ธงทอง จันทรางศุ มองกระบวนการยุติธรรมในวันที่ต้องเรียกหาศรัทธา

สนทนากับ ธงทอง จันทรางศุ เพื่อทบทวนถึงปัญหาเรื่องความเชื่อมั่นในกระบวนการยุติธรรมและเรื่องที่รัฐบาลใหม่พึงใส่ใจภายหลังการเลือกตั้ง

วจนา วรรลยางกูร

31 Mar 2023

Politics

8 Feb 2023

คืนอำนาจตุลาการแก่ปวงชนชาวไทย

สมชาย ปรีชาศิลปกุล เสนอประเด็นที่ควรต้องปฏิรูปศาล ท่ามกลางการวิจารณ์ของประชาชนจำนวนมากว่าศาลไม่อาจปกป้องสิทธิเสรีภาพของประชาชนจากการคุกคามของอำนาจรัฐได้อย่างมีความหมาย

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

8 Feb 2023

Law

28 Nov 2022

คำวินิจฉัยที่ทำให้พระมหากษัตริย์เดือดร้อน

มุนินทร์ พงศาปาน ชวนมองความสำคัญของการเข้าใจใน ‘เทศกาลบ้านเมือง’ ของผู้พิพากษาและเจ้าหน้าที่ในกระบวนการยุติธรรมที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะในคดี 112 ที่ส่งผลกระทบต่อสถาบันพระมหากษัตริย์

มุนินทร์ พงศาปาน

28 Nov 2022

Politics

27 Nov 2022

อดีตอันเป็นนิรันดร์ในกฎหมายหมิ่นพระมหากษัตริย์ไทย

เข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง ชวนมองปัญหาของคำพิพากษาฎีกาที่สั่งลงโทษจำเลยที่หมิ่นรัชกาลที่ 4 ซึ่งกลายเป็นฎีกาที่นักกฎหมายยึดเป็นหลักในการสั่งฟ้อง 112 ในกรณีที่พาดพิงอดีตกษัตริย์

เข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง

27 Nov 2022

Politics

20 Jul 2022

ถึงเวลาเปลี่ยนรูปแบบคำพิพากษา จาก ‘อำนาจนิยม’ เป็น ‘เหตุผลนิยม’

มุนินทร์ พงศาปาน ชวนพิจารณารูปแบบการเขียนคำพิพากษาและคำสั่งของศาลไทยที่สั้นจนดูเหมือนจะเน้นไปที่ ‘ผล’ หรือ ‘ธงคำตอบ’ มากกว่า ‘เหตุผลในทางกฎหมาย’

มุนินทร์ พงศาปาน

20 Jul 2022

Politics

12 Jul 2022

ทำไมผู้พิพากษาจึงบิดเบือนการใช้กฎหมาย

สมชาย ปรีชาศิลปกุล วิเคราะห์ว่ามีเหตุใดบ้างที่จะทำให้เกิดกรณีการตัดสินผิดพลาดของผู้พิพากษา ทั้งเรื่องความเป็นอิสระ ความรับผิดในการปฏิบัติหน้าที่ หรือกระทั่งเรื่องอุดมการณ์ที่ครอบงำ

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

12 Jul 2022

Law

5 Apr 2022

ขอแสดงความไม่ยินดีกับผู้พิพากษาใหม่

สมชาย ปรีชาศิลปกุล เขียนถึงสถาบันการเรียนการสอนนิติศาสตร์ของไทย ที่มักแสดงความยินดีกับผู้สอบผู้พิพากษาผ่าน ทั้งที่อาจไม่ใช่สิ่งน่ายินดี หากผู้สอบผ่านผู้นั้นเข้าไปทำงานรับใช้รัฐ มากกว่าทำเพื่อประชาชน

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

5 Apr 2022

Social Issues

4 Apr 2022

โจทย์ของการศึกษานิติศาสตร์ที่ผู้พิพากษาก็เป็นคนธรรมดาคนหนึ่ง

เข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง เขียนถึงโจทย์ท้าทายของวงการนิติศาสตร์เรื่องการศึกษาตัวผู้พิพากษาในฐานะบุคคล เพื่อออกแบบระบบอำนวยความยุติธรรมที่ดีขึ้น

เข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง

4 Apr 2022

Politics

10 Sep 2021

ปราศจากอคติและให้ความยุติธรรม ความหมายของ ‘พิพากษาในพระปรมาภิไธย’

101 ชวนอ่านความเห็นของ ธงทอง จันทรางศุ ต่อเรื่องบทบาทตุลาการกับการธำรงรักษาระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขให้ยั่งยืน และการทำงานในพระปรมาภิไธยนั้นควรมีหลักการอย่างไร

วจนา วรรลยางกูร

10 Sep 2021

Politics

18 May 2021

ผมเป็นผู้พิพากษาของพระเจ้าอยู่หัว: อุดมการณ์และนักกฎหมายผู้ผ่านเหตุการณ์พฤษภา 35

สมชาย ปรีชาศิลปกุล ชวนมองอุดมการณ์ของผู้พิพากษาผ่านเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ อันเป็นภาพแทนความสัมพันธ์ระหว่างฝ่ายตุลาการและพระมหากษัตริย์

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

18 May 2021

Thai Politics

13 May 2021

ศาลที่น่าศรัทธา ต้องมีผู้พิพากษาที่กล้าและเป็นอิสระ – วิบูลย์ บุญภัทรรักษา

101 คุยกับ วิบูลย์ บุญภัทรรักษา หรือ ทนายอู๊ด พ่อของไผ่ ดาวดิน เกี่ยวกับมุมมองที่เขามีต่อศาลเรื่องคดีการเมือง มาตรา 112 และปัญหาที่แท้จริงของศาลไทย

ภาวรรณ ธนาเลิศสมบูรณ์

13 May 2021

Politics

12 May 2021

วินัยและการควบคุมตุลาการ

สมชาย ปรีชาศิลปกุล เขียนถึงความเป็นอิสระของตุลาการที่มี ‘วินัย’ ควบคุมอยู่ จนทำให้เกิดการเพิกเฉยต่อปัญหาในกระบวนการยุติธรรม

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

12 May 2021

Public Policy

4 May 2021

ผู้พิพากษาไม่หนักแน่น ให้ AI ตัดสินแทนเลยดีไหม?

ฉัตร คำแสง ตั้งคำถามว่า จะดีกว่าหรือไม่หากเราจะใช้ AI ตัดสินคดีแทนผู้พิพากษา ในเมื่อมีผลการศึกษายืนยันว่า AI ตัดสินคดีได้เป็นธรรมกว่า

ฉัตร คำแสง

4 May 2021

Politics

19 Mar 2021

ผู้พิพากษาที่ดีและผู้พิพากษาอันไม่พึงประสงค์

จากการอ่านหนังสือ ‘ผู้พิพากษาที่ดี’ สมชาย ปรีชาศิลปกุล ชวนคิดต่อถึง ‘ผู้พิพากษาอันไม่พึงประสงค์’ อันเป็นปัญหาที่สัมพันธ์ในระดับโครงสร้างหรือวัฒนธรรมในฝ่ายตุลาการ

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

19 Mar 2021
1 2

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save