fbpx

Science & Innovation

25 Mar 2024

‘เครื่องคิดเลข’ – ‘ChatGPT’ และการปรับตัวอย่างสร้างสรรค์

ตะวัน มานะกุล ชวนย้อนดูความตระหนกเมื่อนักเรียนอเมริกาเข้าถึง ‘เครื่องคิดเลข’ จนนำไปสู่การออกแบบหลักสูตรคณิตศาสตร์ใหม่ อันเป็นตัวอย่างการรับมือเทคโนโลยีเมื่อสังคมกำลังเผชิญ ChatGPT

ตะวัน มานะกุล

25 Mar 2024

Science & Innovation

11 Mar 2024

มหาวิทยาลัยชั้นนำกับยุทธศาสตร์รับมือ ChatGPT ด้วยการกระจายอำนาจ: ตอบโจทย์ แต่ยังไม่พอ

ตะวัน มานะกุล ชวนมองแนวทางที่มหาวิทยาลัยแนะนำคณาจารย์ให้นำไปใช้จัดการกับการที่นักศึกษาใช้ ChatGPT ในชั้นเรียน โดยต้องมีการปรับตัวเป็นรายวิชา

ตะวัน มานะกุล

11 Mar 2024

Science & Innovation

18 Feb 2024

ChatGPT ทำอะไรได้บ้างและมีจุดอ่อนตรงไหน?: สิ่งที่ต้องรู้ก่อนปรับตัวรับมือ

ตะวัน มานะกุล ชวนทำความเข้าใจลักษณะการทำงาน ความสามารถ และจุดอ่อนของ ChatGPT อันเป็นเรื่องสำคัญต่อการเรียนรู้เพื่อรับมือ

ตะวัน มานะกุล

18 Feb 2024

Public Policy

6 Feb 2024

‘ตีโจทย์เทคโนโลยีโลก ตั้งโจทย์เทคโนโลยีไทย’ เราควรปรับตัวอย่างไรในโลก 6.0

101 ชวนตีโจทย์เทคโนโลยียุค 6.0 รวมทั้งร่วมวางยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนาสำหรับอนาคตข้างหน้า ผ่านบทสนทนาของผู้เชี่ยวชาญในแต่ละสาขาของเทคโนโลยี

กองบรรณาธิการ

6 Feb 2024

Education

16 Jan 2024

มหาวิทยาลัยมีไว้ทำไม? เมื่อ ChatGPT และ AI ทำให้เราเรียนจบได้เหมือนกัน

ตะวัน มานะกุล ชวนคิดถึงการรับมือ ChatGPT ในโลกวิชาการ เมื่อนักศึกษามหาวิทยาลัยใช้เอไอเขียนรายงานหรือข้อสอบส่งได้อย่างง่ายดาย

ตะวัน มานะกุล

16 Jan 2024

Videos

1 Sep 2023

Upskill Reskill จะอยู่กันอย่างไร เมื่อโลกบอกให้เราต้อง ‘เก่งขึ้น’

สำหรับมนุษย์ทำงาน เรากำลังเข้าสู่ยุคสมัยที่การ Upskill และ Reskill หรือคือการเรียนรู้เพื่อเพิ่มและพัฒนาทักษะใหม่ๆ ให้ตัวเอง กลายเป็นหนึ่งในสิ่งที่ ‘จำเป็น’ เพื่อให้เรา ‘อยู่รอด’ ต่อไปได้ ในการจะเพิ่มและพัฒนาทักษะ คำถามคือเราควรเรียนอะไรใหม่บ้าง โลกกำลังเรียกร้องอะไรจากเราอีก และรัฐบาลหรือหน่วยงานต่างๆ ควรเป็นผู้ประคับประคองมนุษย์ทำงานอย่างเราๆ มากน้อยแค่ไหน

กอบบุญ บูรโชควิวัฒน์

1 Sep 2023

Life & Culture

30 Aug 2023

คุณคิดว่า AI มองโลกแบบผู้ชายหรือผู้หญิง? 

คอลัมน์ ‘สารกันเบื่อ’ เดือนนี้ เอกศาสตร์ สรรพช่าง ชวนตั้งคำถามและขบคิดว่า ความคิดและตัวตนของปัญญาประดิษฐ์ หรือ AI ได้รับอิทธิพลจากสังคมชายเป็นใหญ่มากน้อยแค่ไหน

เอกศาสตร์ สรรพช่าง

30 Aug 2023

Life & Culture

17 Apr 2023

เมื่อ AI ทำได้ทุกอย่าง มนุษย์ควรวางจริยศาสตร์ให้ AI ไหม?

นำชัย ชีววิวรรธน์ เขียนถึงความสามารถของ Generative AI ในการสร้างสิ่งที่ไม่เคยมีอยู่เดิมขึ้นจาก Big Data แต่ความก้าวหน้านี้กลับสร้างความท้าทายด้านจริยธรรมต่อมนุษยชาติ

นำชัย ชีววิวรรธน์

17 Apr 2023

Life & Culture

18 Mar 2022

สองระบบคิดและสองแนวทางของการสร้างปัญญาประดิษฐ์

จิตร์ทัศน์ ฝักเจริญผล ชวนทำความเข้าใจรูปแบบการคิดของปัญญาประดิษฐ์ โดยมีการพัฒนาในสองแนวทางที่สะท้อนรูปแบบการคิดของมนุษย์

จิตร์ทัศน์ ฝักเจริญผล

18 Mar 2022

Life & Culture

28 Jan 2022

ปัญญาประดิษฐ์เกิดมาทำไม? : อ่านความสำคัญของ ‘วัตถุประสงค์’ เมื่อเหตุผลการมีชีวิตอยู่ของปัญญาประดิษฐ์อาจไม่ตรงกับความคาดหวังของมนุษย์

จิตร์ทัศน์ ฝักเจริญผล เขียนถึงความพยายามในการออกแบบกระบวนการฝึกสอนระบบอัตโนมัติและระบบปัญญาประดิษฐ์ที่ทำให้มีวัตถุประสงค์สอดคล้องกับความต้องการของมนุษย์ ซึ่งตอนนี้ยังต้องพัฒนาอีกมาก

จิตร์ทัศน์ ฝักเจริญผล

28 Jan 2022

Media

17 Dec 2021

101 One-on-One Ep.250 อ่านอนาคตโลก เขียนอนาคตไทย กับ ณภัทร จาตุศรีพิทักษ์

แม้ 2021 โลกจะยังคงป่วยไข้จากโควิด-19 แต่เทคโนโลยีและความเปลี่ยนแปลงยังไม่หยุดยั้ง มิหนำซ้ำยังทะยานเร่งขึ้นกว่าเดิม 01 ชวน ณภัทร จาตุศรีพิทักษ์ กรรมการผู้จัดการ มูลนิธิสถาบันอนาคตไทยศึกษา อ่านอนาคตโลกเพื่อเขียนอนาคตไทย

101 One-on-One

17 Dec 2021

Social Issues

22 Jun 2021

พลิกโลกกระบวนการยุติธรรม ภายใต้กำมือ AI และ Blockchain

101 พาไปสำรวจ AI และ Blockchain ที่กำลังเข้ามามีบทบาทมหาศาลในโลกยุติธรรม สองนวัตกรรมนี้ช่วยยกระดับยุติธรรมอย่างไร อะไรเป็นโจทย์ใหม่ที่ต้องคิด

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา

22 Jun 2021

Justice & Human Rights

21 Jun 2021

The Future of Justice: เปิดโฉมหน้ากระบวนการยุติธรรมเวอร์ชันดิจิทัล

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย ชวนสำรวจเทรนด์เทคโนโลยีใหม่ๆ ที่ถูกนำมาปรับใช้ในกระบวนการยุติธรรม (แบบที่ไม่ได้อยู่แค่ในนิยายไซไฟ)

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย

21 Jun 2021

Public Policy

4 May 2021

ผู้พิพากษาไม่หนักแน่น ให้ AI ตัดสินแทนเลยดีไหม?

ฉัตร คำแสง ตั้งคำถามว่า จะดีกว่าหรือไม่หากเราจะใช้ AI ตัดสินคดีแทนผู้พิพากษา ในเมื่อมีผลการศึกษายืนยันว่า AI ตัดสินคดีได้เป็นธรรมกว่า

ฉัตร คำแสง

4 May 2021

Science & Innovation

28 Jan 2021

ปัญญาประดิษฐ์กับงานวารสารศาสตร์: การประสานงานที่ (ต้องเป็น) มากกว่าการเพิ่มผลผลิต

พรรษาสิริ กุหลาบ เขียนถึงที่ทางของเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ หรือ Artificial Intelligence (AI) กับงานด้านวารสารศาสตร์ ในยุคที่บางคนบอกว่านักข่าวจะตกงาน เพราะเทคโนโลยีจะมาทำงานแทน

พรรษาสิริ กุหลาบ

28 Jan 2021
1 2

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save