fbpx

Documentary

8 Apr 2024

ความลับบนขอบที่ราบสูง: ร่องรอยเสียงทวารวดีในเรื่องเล่าของชาวญัฮกุร

เรื่องราวของชาวญัฮกุร กลุ่มคนที่ยังพูดภาษามอญโบราณที่ อ.เทพสถิต และมีประวัติศาสตร์เชื่อมโยงกับเส้นทางการค้าบนขอบที่ราบสูง

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

8 Apr 2024

Life & Culture

10 Jan 2024

ล้านนาเป็นอาณานิคมของสยามช่วงสมบูรณาญาสิทธิราชย์หรือไม่

คอลัมน์ ‘ของบ่เล่ารู้ลืม’ เดือนนี้ พริษฐ์ ชิวารักษ์ ขอเปิดปีด้วยข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ว่าสรุปแล้ว ล้านนาเคยเป็นอาณานิคมของสยามหรือไม่

พริษฐ์ ชิวารักษ์

10 Jan 2024

Life & Culture

15 Nov 2023

การเมืองเรื่องคําว่า ‘ยวน’ ในตํานานพื้นเมืองเชียงใหม่

คอลัมน์ ‘ของบ่เล่ารู้ลืม’ เดือนนี้ พริษฐ์ ชิวารักษ์ อภิปรายสาเหตุที่ไม่พบคําว่ายวนใน ‘ตํานานพื้นเมืองเชียงใหม่’ โดยอาศัยบริบททางประวัติศาสตร์และลักษณะการใช้คําในวรรณกรรมและจารึกชิ้นอื่นๆ ประกอบการตีความ

พริษฐ์ ชิวารักษ์

15 Nov 2023

People

10 Sep 2023

ธงชัย วินิจจะกูล: สู่หน้าถัดไปของประวัติศาสตร์สามัญชนในยุค ‘Post-นิธิ เอียวศรีวงศ์’

101 สรุปงานปาฐกถาโดยธงชัย วินิจจะกูล ถึงการจากไปของ นิธิ เอียวศรีวงศ์ ซึ่งนำไปสู่คำถามถึงแวดวงการศึกษาประวัติศาสตร์สังคมไทยนับจากนี้

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา

10 Sep 2023

Life & Culture

7 Sep 2023

ลานนา ล้านนา: การเมืองเรื่องไม้โทกับอาณานิคมความรู้ในล้านนา

คอลัมน์ ‘ของบ่เล่ารู้ลืม’ เดือนนี้ พริษฐ์ ชิวารักษ์ เขียนถึงวิวาทะว่าด้วยอักขรวิธีระหว่าง ‘ล้านนา’ กับ ‘ลานนา’ ที่ใช้เรียกพื้นที่ซึ่งปัจจุบันคือภาคเหนือตอนบนของไทย ต้นรากของการเลือกใช้คำมาจากไหน และความคิดแบบไหนที่อยู่เบื้องหลังการตัดสินใจเหล่านี้

พริษฐ์ ชิวารักษ์

7 Sep 2023

Law

17 Aug 2023

ทำไมนักเรียนกฎหมายจึงต้องอ่านงานประวัติศาสตร์

สมชาย ปรีชาศิลปกุลชี้ชวนให้เห็นความสำคัญที่นักกฎหมายจำเป็นต้องอ่านงานประวัติศาสตร์ เพื่อประโยชน์ในการตีความกฎหมายโดยเข้าใจสังคม

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

17 Aug 2023

Life & Culture

17 Jul 2023

ล้านนาปฏิวัติ: การต่อสู้ของ ‘ตนบุญ’ ในประวัติศาสตร์ล้านนา (ตอนแรก)

คอลัมน์ ‘ของบ่เล่ารู้ลืม’ ตอนนี้ พริษฐ์ ชิวารักษ์ เขียนถึง การต่อสู้ของ ‘ตนบุญ’ ในประวัติศาสตร์ล้านนา

พริษฐ์ ชิวารักษ์

17 Jul 2023

Life & Culture

16 Jun 2023

คำปาฐกถาเรื่อง ‘เขียนสังคมใหม่ เขียนประวัติศาสตร์ประชาชน’ หรือ ‘เขียนประวัติศาสตร์ชาติด้วยประวัติศาสตร์ประชาชน’

คำปาฐกถาของพริษฐ์ ชิวารักษ์ ที่ไม่มีโอกาสได้กล่าวในโครงการประชุมวิชาการในวาระครบรอบ 55 ปี ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

พริษฐ์ ชิวารักษ์

16 Jun 2023

Multiverse of Justice : ความยุติธรรมในโลกหลากมิติ

6 Jun 2023

“ความยุติธรรมก็เป็นอีกชีวิตหนึ่งในสังคม” ความยุติธรรมในสายธารประวัติศาสตร์แห่งบาดแผล: ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

ในห้วงยามที่ความยุติธรรมถูกตั้งคำถาม 101 สนทนากับ ศ.ดร.ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ ว่าด้วยความเปลี่ยนแปลงของความยุติธรรมในสายธารประวัติศาสตร์อันยาวไกล

ในฐานะกติกาของสังคม ความยุติธรรมเปลี่ยนรูปโฉมอย่างไรในหลายทศวรรษที่ผ่านมา ความเป็นธรรมอันบิดเบี้ยวมีส่วนในการก่อกำเนิดบาดแผลในอดีตที่ยังไม่ได้รับการชำระหรือไม่ และเราจะอยู่ร่วมกับประวัติศาสร์บาดแผลได้อย่างไร

พิมพ์ชนก พุกสุข

6 Jun 2023

Life & Culture

23 Mar 2023

I Say Mingalaba, You Say Goodbye: หากประวัติศาสตร์มี ‘ถ้า’ และพม่าไม่ใช่ราชศัตรู

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัยเขียนถึง I Say Mingalaba, You Say Goodbye ละครเวทีโดยจารุนันท์ พันธชาติ ว่าด้วยการตีความประวัติศาสตร์ และการรู้จักรากของตัวเองผ่านความสัมพันธ์ไทย-พม่า

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

23 Mar 2023

Life & Culture

16 Mar 2023

คนล้านนาเป็นไท/ไทย แต่กลายเป็นลาวเพราะการยัดเยียด

คอลัมน์ ‘ของบ่เล่ารู้ลืม’ เดือนนี้ พริษฐ์ ชิวารักษ์ชวนทำความเข้าใจการเรียกตัวเองของชาวล้านนา ที่ไม่เคยเรียกว่าตัวเองว่า ‘ลาว’ ดังที่ชาวสยามเรียก โดยศึกษาผ่านเอกสารและหนังสือในประวัติศาสตร์

พริษฐ์ ชิวารักษ์

16 Mar 2023

Life & Culture

2 Aug 2022

มนต์เสน่ห์ของประวัติศาสตร์ คือการถกเถียงกับอดีตไม่รู้จบ: ตุลย์ อิศรางกูร ณ อยุธยา

ในวันที่โลกเรียกร้องการทำความเข้าใจมนุษย์และสังคมมากกว่าที่เคย ทิศทางการศึกษาประวัติศาสตร์กำลังมุ่งไปทางไหน? หนทางใดที่นักประวัติศาสตร์จะเปิดคำอธิบายใหม่ๆ เพื่อเข้าใจความเป็นมนุษย์ได้มากยิ่งขึ้น? การเรียนการสอนประวัติศาสตร์ต้องปรับเปลี่ยนอย่างไร? และวงการประวัติศาสตร์จะเดินหน้าต่อไปในอนาคตได้อย่างไร? 101 สนทนากับ ตุลย์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ในประเด็น ‘ประวัติศาสตร์ต้องรอด!’

กองบรรณาธิการ

2 Aug 2022

Life & Culture

28 Jan 2021

How to Train Your Supporters: ไวกิ้งปริศนาแห่งรัฐสภาสหรัฐฯ

ชลิดา หนูหล้า เขียนถึงเบื้องหลัง ‘สัญลักษณ์’ บนร่างกายของกลุ่มผู้บุกรุกอาคารรัฐสภาสหรัฐฯ ที่สนับสนุนโดนัล ทรัมป์ และประวัติศาสตร์สืบสายมาอย่างไร จนนำมาสู่แนวคิด ‘คนขาวเป็นใหญ่’

ชลิดา หนูหล้า

28 Jan 2021

Life & Culture

22 Dec 2020

ผ่ามายาคติชาตินักรบ จริงหรือที่ ท.ทหารต้องอดทน

ชลิดา หนูหล้า ชวนตั้งคำถามว่า ความป่าเถื่อนและสภาพแวดล้อมอันบีบคั้นรุนแรง จะสร้าง ‘ชายชาติทหาร’ ได้จริงหรือ

ชลิดา หนูหล้า

22 Dec 2020

Politics

16 Oct 2020

“การเมืองไทยใต้ฟ้าเดียวกัน” กับธนาพล อิ๋วสกุล

อ่านสถานการณ์การเมืองไทยกับ ธนาพล อิ๋วสกุล บรรณาธิการบริหารสำนักพิมพ์ฟ้าเดียวกัน ผู้มีส่วนสำคัญในการผลักดัน ‘งานวิชาการนอกขนบ’ มาเกือบ 2 ทศวรรษ จนถึงตอนนี้ที่ ‘ฟ้าเดียวกัน’ กลายเป็นสำนักพิมพ์ร้อนแรงแห่งยุค

กองบรรณาธิการ

16 Oct 2020
1 2 3

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save