fbpx

Politics

9 Jul 2023

เกษียร เตชะพีระ: สังคมไทยในความเสื่อมแห่งอาญาสิทธิ์ของราชาชาตินิยม

101 ชวน ศาสตราจารย์เกษียร เตชะพีระ มองภาพสะท้อนสังคมไทยผ่านการเลือกตั้งและปัจจัยที่ทำให้สังคมไทยมองหาคำตอบใหม่ๆ มาเป็นทางออกจากปัญหาที่เรื้อรังยาวนาน

วจนา วรรลยางกูร

9 Jul 2023

Life & Culture

4 Jul 2023

“ผมลิมิตชีวิตตัวเองไว้แค่ 27 ปี” การเมืองของคนสามัญและการต่อสู้ไม่มีวันรู้จบของเนติวิทย์ โชติภัทร์ไพศาล

อ่านชีวิตและตัวตนของ ‘เนติวิทย์ โชติภัทร์ไพศาล’ กับ 8 ปีในรั้วจุฬาฯ และ 27 ปีแห่งการต่อสู้ในสายธารแห่งประชาธิปไตย

ภัคจิรา มาตาพิทักษ์

4 Jul 2023

Politics

29 Jun 2023

เลือกตั้ง I นักร้อง I ส.ว. I รัฐประหาร : การเมืองไทยยังมีอีกหลายด่านให้ฝ่าไป – พนัส ทัศนียานนท์

ในช่วงที่กระแสทางการเมืองยังคุกกรุ่น 101 สนทนากับ พนัส ทัศนียานนท์ อดีตอธิการบดีคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ถึงสาเหตุและปัญหาของการมีอาชีพนักร้องเรียน การแก้ไขกฎหมายให้การร้องเรียนมีประโยชน์ต่อระบบการเมือง ความพอดีของการร้องเรียน ไปจนถึงสายธารแห่งประชาธิปไตยในสายตาของเขา

ภัคจิรา มาตาพิทักษ์

29 Jun 2023

Politics

19 Jun 2023

เป็น ‘ด้อม’ ให้น้อยลง เป็น ‘Voter’ ให้มากขึ้น

สมชาย ปรีชาศิลปกุล ชวนคิดถึงการจัดวางตนเองในฐานะ voter ควบคู่กับการเป็นด้อมการเมือง เพื่อให้ประชาชนสามารถพิจารณาประเด็นปัญหาต่างๆ ได้อย่างรอบด้านมากขึ้น

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

19 Jun 2023

Politics

19 Jun 2023

ทางสองแพร่งของประชาธิปไตยไทย

เนติวิทย์ โชติภัทร์ไพศาล และ เสฏฐนันท์ ธนกิจโกเศรษฐ์ เขียนถึงทางสองแพร่งประชาธิปไตยไทย จากข้อถกเถียงเรื่องการบริหารสมดุลของเสรีภาพเชิงลบกับเสรีภาพเชิงบวก สู่การปะทะกันระหว่างอุดมการณ์ ‘ประชาธิปไตยแบบร่วมไตร่ตรอง’ กับ ‘ประชาธิปไตยแบบถึงรากถึงโคน’ ดังที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน

เนติวิทย์ โชติภัทร์ไพศาล

19 Jun 2023

Thai Politics

29 May 2023

สภาสูงสูงได้อย่างไร: ชวนสำรวจเหตุผลบางประการของการมี (และไม่มี) อยู่ของระบบสภาคู่

พลอยใจ ปิ่นตบแต่ง เขียนถึง เหตุผลที่ยังทำให้ ‘สภาสูง’ ดำรงอยู่และมีที่ทางในสังคมการเมืองต่างๆ ได้ ผ่านมุมมองทางประวัติศาสตร์ ซึ่งอาจช่วยให้คำตอบแก่สังคมไทยในอนาคตได้ว่า ‘ส.ว. มีไว้ทำไม’

พลอยใจ ปิ่นตบแต่ง

29 May 2023

Media

18 May 2023

101 POSTSCRIPT Ep.73 : ชัยชนะของก้าวไกล ประเทศไทยเปลี่ยน?

ว่ากันว่าการที่พรรคก้าวไกลชนะการเลือกตั้งเป็นอันดับหนึ่ง ทำให้ประเทศไทยเปลี่ยน แต่อะไรกันแน่ที่เปลี่ยน? ติดตามได้ใน 101 Postscript

กองบรรณาธิการ

18 May 2023

Thai Politics

18 May 2023

ประชาธิปไตยไปทางไหนต่อ? มองฉากทัศน์เลือกตั้งสู่โจทย์อนาคตประเทศไทย

101 ชวนคุณย้อนอ่านฉากทัศน์การเลือกตั้ง และโจทย์สังคม เศรษฐกิจ การเมืองไทยสำหรับรัฐบาลใหม่ในอนาคต โดยรศ.ดร.พวงทอง ภวัครพันธุ์ และ ผศ.ดร.พิชญ์ พงษ์สวัสดิ์

กองบรรณาธิการ

18 May 2023

Thai Politics

3 May 2023

‘เด็กคืออนาคตของชาติ?’: คุยกับนักขับเคลื่อนสังคมเจน Z ในวันที่เสียงเด็กไทยไม่อยู่ในสมการเลือกตั้ง

101 คุยกับนักขับเคลื่อนสังคมและนักกิจกรรมทางการเมืองรุ่นใหม่ ทั้งสมาชิกกลุ่มนักเรียนเลวและทะลุแก๊ส กับความเห็นของพวกเขาต่อการลดอายุผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ความคาดหวังของพวกเขาต่อการเมืองไทย และภาพอนาคตประเทศไทยในสายตาของเยาวชนของชาติ

ภัคจิรา มาตาพิทักษ์

3 May 2023

Politics

25 Apr 2023

101 PUB ตั้งวงตีโจทย์ไทยหลังเลือกตั้ง: 18 ความคิด จาก 18 คนบนถนนนโยบายสาธารณะไทย

ในวาระครบขวบปีการทำงานของศูนย์ความรู้นโยบายสาธารณะเพื่อการเปลี่ยนแปลง (101 Public Policy Think Tank) ทีมงาน 101 PUB เชิญชวนหลากหลายผู้มีบทบาทในโลกนโยบายสาธารณะ ทั้งนักวิชาการ นักวิจัย ผู้กำหนดนโยบาย นักเคลื่อนไหวทางสังคม นักการเมือง และสื่อมวลชน มาร่วมตั้งวงระดมสมองและแลกเปลี่ยนความคิดเรื่องบทต่อไปของประเทศไทยหลังเลือกตั้ง ทั้งโจทย์เชิงนโยบายและโจทย์ใหญ่ของประเทศ

ภัคจิรา มาตาพิทักษ์

25 Apr 2023

ไทยไม่ใช่กรุงเทพฯ

6 Mar 2023

การกระจายอำนาจ: หนึ่งในค่านิยมสากลที่องค์กรโลกบาลพยายามสร้าง

คอลัมน์ ‘ไทยไม่ใช่กรุงเทพ’ ว่าด้วยปัจจัยจากองค์กรระหว่างประเทศที่ช่วยผลักดันให้การกระจายอำนาจเกิดขึ้นในประเทศกำลังพัฒนา

ณัฐกร วิทิตานนท์

6 Mar 2023

Politics

24 Jan 2023

“จุดไฟแล้วส่งต่อ อย่าให้ดับ” วรเจตน์ ภาคีรัตน์ ในวันที่ต้องยอมรับว่าการเปลี่ยนแปลงใช้เวลามากกว่าที่คิด

101 ชวน วรเจตน์ ภาคีรัตน์ มองภาพกว้างสังคมไทยว่าเราควรทำความเข้าใจอย่างไรต่อระบอบการปกครองที่เป็นอยู่นี้ คุณค่าหลักที่อยู่ในรัฐธรรมนูญคืออะไรและจะส่งผลอย่างไรต่อการต่อสู้ทางการเมือง จนถึงประเด็นที่ชวนคิดต่อการเลือกตั้ง 2566

วจนา วรรลยางกูร

24 Jan 2023

Politics

7 Jul 2022

ชาติ กษัตริย์ กองทัพ: ล้วงลึกอำนาจสถาบันใหญ่ที่โยงใยอยู่ในประชาธิปไตยแบบไทยๆ

101 ชวนทำความเข้าใจ ‘ระบอบการเมืองบนความสัมพันธ์ระหว่างสถาบันกษัตริย์และกองทัพ’ ที่บทบาททางการเมืองของกองทัพและสถาบันกษัตริย์นำไปสู่การก่อร่างและดำรงอยู่ของ ‘ประชาธิปไตยแบบไทยๆ’ ผ่านทัศนะของ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี, พอล แชมเบอร์, อุกฤษฏ์ ปัทมานันท์ และดันแคน แม็กคาร์โก

ภัคจิรา มาตาพิทักษ์

7 Jul 2022
1 2 3 17

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save