fbpx

Thai Politics

3 May 2023

อำนาจ วัฒนธรรมและจินตนาการ ในประเทศที่มีรัฐประหาร 13 ครั้ง : สำรวจนโยบาย Soft Power ของแต่ละพรรคในสนามเลือกตั้ง 2566

สำรวจนโยบายว่าด้วย Soft Power และประเด็นเชิงศิลปวัฒนธรรมในสนามเลือกตั้งที่จะถึงนี้ ว่าแต่ละพรรคนำเสนอประเด็นไหนบ้าง อุปสรรคใหญ่คืออะไร และเราจะ ‘ขยับขยาย’ ขอบเขตของ ‘จินตนาการ’ ทางความสร้างสรรค์นี้ได้หรือไม่ในประเทศซึ่งรากเผด็จการหยั่งรากลงลึกเช่นนี้

พิมพ์ชนก พุกสุข

3 May 2023

Thai Politics

22 Mar 2023

เช้าวันใหม่ใต้ร่มประชาธิปัตย์ คุยกับ ‘มาดามเดียร์’ ถึงภารกิจกู้วิกฤตศรัทธาสู้ศึกเลือกตั้งปี ’66

สนทนากับ วทันยา บุนนาค ถึงเช้าวันใหม่ของพรรคประชาธิปัตย์ก่อนเข้าสู่ศึกเลือกตั้ง 2566 พร้อมคุยถึงอนาคตของเธอภายใต้ชายคาพรรคสีฟ้า

โสรญา อะทาโส

22 Mar 2023

101 One-on-One

4 Mar 2023

101 One-on-One Ep.293 ประชาธิปัตย์ใน ‘เช้าวันใหม่’ กับ วทันยา บุนนาค

101 สนทนากับ วทันยา บุนนาค ถึงเช้าวันใหม่ของพรรคประชาธิปัตย์ก่อนเข้าสู่ศึกเลือกตั้ง 2566 พร้อมคุยถึงอนาคตของเธอภายใต้ชายคาพรรคสีฟ้า

101 One-on-One

4 Mar 2023

Thai Politics

20 Jul 2021

อนาคตประชาธิปัตย์ รัฐบาล และประชาธิปไตยไทย กับ อันวาร์ สาและ

101 ชวน อันวาร์ สาและ ส.ส.ปัตตานี ผู้ประกาศลาออกจากตำแหน่งรองเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ พูดคุยถึงความหวังของเขาในการพลิกฟื้นพรรคประชาธิปัตย์เพื่อสร้างศรัทธาจากประชาชน และทางออกจากวิกฤตที่สังคมกำลังเผชิญหน้าร่วมกัน

กองบรรณาธิการ

20 Jul 2021

Talk Programmes

25 Feb 2020

101 Policy Forum #2 : แก้รัฐธรรมนูญ ออกแบบสัญญาประชาคมใหม่

ชวนคุยเรื่องข้อเสนอว่าด้วยการแก้ไขรัฐธรรมนูญ ชวนคิดเรื่องการออกแบบสัญญาประชาคมใหม่ แต่ละพรรคตีโจทย์เรื่องการแก้รัฐธรรมนูญอย่างไร และมีคำตอบเรื่องเนื้อหาสาระของรัฐธรรมนูญในเรื่องเหล่านี้อย่างไร : สิทธิเสรีภาพของประชาชน | ระบบเลือกตั้ง | วุฒิสภา | ศาลและองค์กรอิสระ | การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ | ฯลฯ

กองบรรณาธิการ

25 Feb 2020

Political Economy

9 Oct 2019

ประชาธิปัตย์กลางมรสุมเศรษฐกิจการเมืองไทย กับ กรณ์ จาติกวณิช

ทัศนะบางส่วนจาก ‘กรณ์ จาติกวณิช’ อดีตรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ในฐานะผู้เคยเป็นประธานนโยบายพรรคฯ และเคยเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ที่ให้สัมภาษณ์ไว้ผ่านรายการ 101 One-On-One EP.90

ธิติ มีแต้ม

9 Oct 2019

Thai Politics

7 Oct 2019

12 ชั่วโมง ก่อนเรือเล็กออกจากฝั่ง (ประชาธิปัตย์)

คอลัมน์ butterfly effect ตอนแรก พริษฐ์ วัชรสินธุ เล่าเบื้องหลังชั่วโมงต่อชั่วโมงก่อนตัดสินใจลาออกจากพรรคประชาธิปัตย์ เพราะไม่เห็นด้วยกับการตัดสินใจเข้าร่วมรัฐบาล

พริษฐ์ วัชรสินธุ

7 Oct 2019

Thai Politics

31 Jul 2019

กึ่งศตวรรษบนเส้นทางนักการเมืองชื่อชวน หลีกภัย (2) : ปลัดประเทศผู้ (เคย) เชื่อมั่นในระบอบรัฐสภา

ธนาพล อิ๋วสกุล สำรวจเส้นทางการเมืองอันยาวนานกว่ากึ่งศตวรรษของ ‘ชวน หลีกภัย’ นับจากเข้ารับตำแหน่งหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ เมื่อปี 2534 จนถึงปัจจุบัน

ธนาพล อิ๋วสกุล

31 Jul 2019

Thai Politics

11 Jun 2019

ทำไมนักการเมือง (บางพรรค) จึงไม่รักษาสัญญา? : มุมมองเชิงเศรษฐศาสตร์สถาบัน

อิสร์กุล อุณหเกตุ เขียนถึงสาเหตุที่นักการเมือง (บางพรรค) ไม่รักษาสัญญาที่ให้ไว้กับประชาชน เมื่อนักเศรษฐศาสตร์สถาบันเชื่อว่านักการเมืองไม่ได้ผิดสัญญาจากกมลสันดาน แต่เกิดจากโครงสร้างแรงจูงใจผิดๆ

อิสร์กุล อุณหเกตุ

11 Jun 2019

Interviews

27 May 2019

‘แยก-ยึด-ร่วม’ บทเรียนชัยชนะ ‘ตรัง’ เขต 1 : นิพันธ์ ศิริธร ส.ส.พลังประชารัฐ

คุยกับ นิพันธ์ ศิริธร ส.ส.พรรคพลังประชารัฐ หนึ่งในตัวละครสำคัญที่เป็นคนบุกเบิกเปลี่ยนประวัติศาสตร์สนามเลือกตั้งใหม่ในจังหวัดตรัง

ธิติ มีแต้ม

27 May 2019

Thai Politics

21 May 2019

การเมืองเรื่องลูก : นโยบายแบบไหนที่ทำให้คนพร้อมสร้างครอบครัว?

วจนา วรรลยางกูร เขียนถึงนโยบายเกี่ยวกับแม่และเด็กของพรรคการเมืองไทย และจำแนกรายละเอียดของนโยบายที่แตกต่างกัน ภายใต้หลักการเดียวกันคือสนับสนุนให้คนตัดสินใจมีลูก และยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน

วจนา วรรลยางกูร

21 May 2019

Politics

25 Mar 2019

เลือกตั้ง 62 : อนิจลักษณะของผลเลือกตั้งในกรุงเทพมหานคร

กองบรรณาธิการ 101 วิเคราะห์ผลการเลือกตั้ง กทม. เมื่อพลังประชารัฐและอนาคตใหม่มีเซอร์ไพรส์ แล้วการเมืองไทยจะเดินอย่างไรต่อ

กองบรรณาธิการ

25 Mar 2019

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017